Page 32 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 32

รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘



                                                                                หลักการปารีส



                                                                   (Paris Principles)











              หลักการปารีส (Paris Principles) ก�าหนดมาตรฐานบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (National Human Rights
              Institutions: NHRIs) ที่ส�าคัญไว้อย่างน้อย ๕ ด้าน ซึ่ง NHRIs ควรพิจารณาด�าเนินการ โดยในจ�านวนนี้มีบทบาทในการ
              เฝ้าระวังสถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Monitoring Function) ซึ่งครอบคลุมหน้าที่หลัก ๔ ส่วน ได้แก่ (๑) การเฝ้าระวัง
              สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ (๒) การเฝ้าระวังปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่อง (๓) การเฝ้าระวังสถานที่กักกันเพื่อป้องกัน
              มิให้มีการกระท�าทรมาน และเป็นไปตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชน และ (๔) การเฝ้าระวังและติดตามการด�าเนินการของหน่วยงาน
              ในประเทศตามข้อเสนอแนะทั้งจากกลไกตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน (Treaty-based) ซึ่งครอบคลุมกติกา
              และอนุสัญญาต่าง ๆ ที่ประเทศไทยเป็นภาคี จ�านวน ๗ ฉบับ (จากทั้งหมด ๙ ฉบับ) และตามกลไกกฎบัตรสหประชาชาติ (Charter-based)
              ซึ่งครอบคลุมทั้งผู้แทนพิเศษ (Special Representative) ผู้รายงานพิเศษ (Special Rapporteur) กลไกทบทวนสถานการณ์
              สิทธิมนุษยชน (Universal Periodic Review : UPR) และอื่น ๆ โดยการปฏิบัติงานดังกล่าว NHRIs จะต้องค�านึงถึงการมี
              ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และองค์กรอื่น ๆ ทั้งในและต่างประเทศ และจะต้องอยู่บนพื้นฐานด้านสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด
              ซึ่ง NHRIs จะต้องรักษาสมดุลอย่างเหมาะสมตามหลักการปารีส ค�านึงถึงการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ และการสนองตอบต่อยุทธศาสตร์
              และสถานการณ์ของประเทศเป็นส�าคัญ ๑






              ทั้งนี้  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองโดย   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐  มาตรา ๒๕๗
              คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม   (๘) และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              ๒๕๕๗ และตามประกาศ คสช. ฉบับที่ ๕/๒๕๕๗ ให้รัฐธรรมนูญ  พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ (๖) ซึ่งก�าหนดให้ กสม. มีอ�านาจหน้าที่
              แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลงชั่วคราว    ในการจัดท�ารายงานประจ�าปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้าน
              เว้นหมวด ๒ พระมหากษัตริย์ และให้องค์กรอิสระและองค์กรอื่น   สิทธิมนุษยชนภายในประเทศเสนอต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
              ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐    พร้อมทั้งให้เปิดเผยต่อสาธารณชน การจัดท�ารายงานการประเมิน
              ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป และประกาศ คสช. ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๗   สถานการณ์ถือเป็นการส่งเสริมให้สาธารณชนได้รับทราบถึง
              ให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  ๒๕๕๐    สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศว่า ในแต่ละปีมีเหตุการณ์
              สิ้นสุดลง ยกเว้นหมวด ๒ และให้องค์กรอิสระ และองค์กรอื่น   ที่ส�าคัญใดบ้างที่มีผลกระทบต่อสิทธิของประชาชนที่มีการ
              ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐    รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายภายในอื่น ๆ พันธกรณี
              ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป  ดังนั้น ในการจัดท�ารายงานการประเมิน  ด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี มาตรฐานระหว่าง  บทที่ ๑ กรอบการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
              สถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ�าปีของประเทศไทย ในปี ๒๕๕๘   ประเทศที่เกี่ยวข้อง และค�ามั่นสัญญาต่าง ๆ ที่รัฐบาลไทย
              ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) จึงถือเป็น   ได้ให้ไว้ต่อประชาคมระหว่างประเทศ ทั้งในด้านที่เป็นความ
              การปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจส่วนหนึ่งที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ   ก้าวหน้าและความถดถอย
              แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔



              ๑ “หลักการว่าด้วยสถานะและหน้าที่ของสถาบันแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน” (Principle relating to the Status and national institution for
              protection and promotion of human rights) หรือ “หลักการปารีส” (Paris Principles) เป็นบทบัญญัติที่ก�าหนดรูปแบบ ตลอดจนอ�านาจหน้าที่ องค์ประกอบและแนวทาง
              การด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หลักการดังกล่าวเกิดขึ้นจากการประชุมทางวิชาการที่กรุงปารีส ในปี ๒๕๓๔ (๑๙๙๑) และได้รับการรับรองโดยที่ประชุมสมัชชาใหญ่
              แห่งสหประชาชาติ (UN General Assembly) ในปี ๒๕๓๖ (๑๙๙๓) หลังจากการรับรองปฏิญญาเวียนนาและแผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
              <www.nhrc.or.th/Human-Rights-Knowledge/International-Human-Rights-Affairs/Paris-Principles.aspx> (เข้าดู ณ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๙)
                                                                                                            2
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37