Page 33 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 33
รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยปี ๒๕๕๘
ในการจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนฉบับนี้ กสม. ได้รวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริง และคัดเลือกประเด็นจากสถานการณ์
ส�าคัญที่เป็นที่สนใจอย่างกว้างขวาง ทั้งจากหน่วยงานของรัฐ และเอกชน สื่อมวลชน สาธารณชน ตลอดจนประชาคมระหว่างประเทศ
และ/หรือเห็นว่ามีผลอย่างส�าคัญต่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศ รวมถึงเรื่องที่ กสม. ได้มีการด�าเนินงาน
ที่เกี่ยวข้องในประเด็นต่าง ๆ เหล่านั้น ทั้งจากการจัดท�ารายงาน การตรวจสอบ หรือการจัดท�าข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาไปยังรัฐบาล
คณะรัฐมนตรี หน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง แล้วน�ามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ในด้านต่าง ๆ โดยมีเกณฑ์หรือมาตรฐาน
หลักในการประเมิน ดังนี้
๐๑ ๐๒
หลักการตามรัฐธรรมนูญแห่ง สิทธิที่ได้รับการรับรองจากสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เป็นภาคี รัฐจึงมีพันธกรณีที่จะต้องด�าเนินการให้สอดคล้อง และ/หรือ เป็นไปตาม
โดยเฉพาะในหมวดที่ ๓ สิทธิและเสรีภาพ มาตรฐานที่รับเอาไว้ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
๒
ของชนชาวไทย และหมวดที่ ๕ แนว ด้านสิทธิมนุษยชนหลัก ๗ ฉบับ จากทั้งหมด ๙ ฉบับ ได้แก่
นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) ๒.๑ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Convention
พุทธศักราช ๒๕๕๗ มาตรา ๔ ซึ่งบัญญัติว่า on the Elimination of All Forms of Discrimination Against Women:
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และ CEDAW) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๘
ความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคย
ได้รับการคุ้มครองตามประเพณีการปกครอง ๒.๒ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child: CRC)
ประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตย มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
และตามพันธกรณีระหว่างประเทศ ๒.๓ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International
ที่ประเทศไทยมีอยู่แล้ว ย่อมได้รับ Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย
การคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้ เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๔๐
๒.๔ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
(International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights:
ICESCR) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒
๒.๕ อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (Convention
on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination: ICERD)
มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖
๒.๖ อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย
ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย�่ายีศักดิ์ศรี (Convention Against Torture and
Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment:
CAT) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐
๒.๗ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons
with Disabilities: CRPD) มีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม
๒๕๕๑
๒ ในส่วนที่ไม่ได้แสดงไว้ในรายงานฉบับนี้ คือ อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติ และสมาชิกในครอบครัวของแรงงานข้ามชาติ (International Convention on the
Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families- ICRMW) ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลก�าลังพิจารณาถึงความพร้อมในการลงนามและการให้สัตยาบันเป็นรัฐภาคี
3