Page 27 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 27

26



               ถ้ำมีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนจำกส่วนใดก็จะไม่มีกำรติดต่อหรือสนับสนุนในส่วนนั้น เพรำะเหตุจำกกำรละเมิด

               สิทธิมนุษยชนเพื่อไม่ให้มีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนในทุกระดับต่อไป และผู้อภิปรำยท่ำนต่อไป คือ ดร.เนติธร
               ประดิษฐ์สำร ผู้แทน UN Global Compact Local Network Thailand  จะมำอภิปรำยว่ำ หำกภำคธุรกิจ

               จะริเริ่มหลักกำร UNGC ในระดับท้องถิ่น (local) จะมีลักษณะกำรท ำงำนและมีแนวคิดในกำรริเริ่มอย่ำงไร

                                ดร.เนติธร  ประดิษฐ์สาร  ผู้แทน UN Global Compact Local Network Thailand

               อภิปรำยว่ำ ในฐำนะที่ท ำงำนด้ำนส่งเสริมควำมยั่งยืนในเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีค ำถำมว่ำท ำไมต้องท ำนั้น

               หำกมองในภำคเอกชนเป็นมีนัยยะที่จะต้องปรับเปลี่ยนทัศนะและกำรลงทุน สิ่งเหล่ำนี้เป็นกำรไปเพื่อควำม

               ยั่งยืนของประเทศและองค์กรของท่ำน เพรำะเป็นกำรแสดงควำมรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งเป็นเรื่องหนึ่งของกำร

               ท ำกำรกุศล แต่อีกมิติหนึ่งเป็นเรื่องกำรท ำธุรกิจที่มีผลกระทบต่อสิ่งที่อยู่รอบตัวในด้ำนต่ำงๆมำกน้อยเพียงใด
               ทั้งประเด็นส ำคัญที่ส่งผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

                                กำรท ำตำมหลักกำรเป็นสิ่งดีที่ต้องท ำแต่ที่ยิ่งกว่ำหลักกำรคือ กำรมีผลดีต่อมูลค่ำของธุรกิจ

               เพื่อเป็นกำรสร้ำงควำมเชื่อมั่นแก่ลูกค้ำหรือผู้ประกอบกำรอื่นๆ ในระยะยำว เพรำะปัจจุบันกลไกตรวจสอบที่

               ภำคธุรกิจต้องรับผิดชอบต่อสังคมมีมำกมำย ไม่ว่ำจะเป็นโซเชียลเน็ตเวิร์คต่ำงๆ ก็มีผลต่อกำรประกอบกำรของ

               ภำคธุรกิจ และที่ส ำคัญกำรตรวจสอบไม่ใช่แค่ควำมเชื่อมโยงในระดับประเทศแต่เป็นไปถึงระดับโลก ซึ่งไม่ได้ดู

               ว่ำ องค์กรธุรกิจของท่ำนละเมิดหรือไม่ แต่ดูทั้งห่วงโซ่อุปทำนของท่ำนว่ำมีกำรตรวจสอบได้หรือไม่ว่ำมีกำร

               ละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม่ ดังนั้น จึงต้องมีกำรปรับตัวทั้งในแง่ของกำรด ำเนินธุรกิจและทัศนคติ โดยมีกำร

               ปรับมุมมองว่ำ ตัวธุรกิจมีควำมเสี่ยงหรือไม่ ท่ำนควบคุมควำมเสี่ยงจำกธุรกิจของท่ำนได้หรือไม่ ท่ำนตรวจสอบ

               ได้หรือไม่ว่ำ ห่วงโซ่อุปำทำนของท่ำนมีกำรด ำเนินธุรกิจที่เคำรพสิทธิมนุษยชน จำกค ำถำมเหล่ำนี้มีผลไปสู่
               กำรผลักดันให้ภำคธุรกิจมีกำรเปลี่ยนแปลงได้นอกเหนือจำกภำครัฐอย่ำงเดียว ซึ่งก็เป็นที่มำของกำรรวมตัว

               ก่อตั้งเป็นเครือข่ำยข้อตกลงโลก (UN Global Compact Local Network-UNGC) จำกบริษัทต่ำงๆทั่วโลก

               กว่ำ ๘,๐๐๐ กว่ำบริษัทเพื่อเครือข่ำยที่จะขับเคลื่อนกิจกรรมต่ำงๆและเพื่อเป็นจุดศูนย์กลำงที่ให้ควำมรู้เรื่อง

               หลักกำรธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ซึ่งเครือข่ำย UNGC ในประเทศไทย มีแนวคิดว่ำต้องมีกำรจัดกำรให้เป็นระบบ

               เศรษฐกิจที่ยั่งยืน โดยน ำภำคเอกชนมำเข้ำร่วมในกำรด ำเนินกำรตำมแนวคิดของหลักกำร UNGC ไม่ว่ำจะเป็น

               ด้ำนแรงงำน ด้ำนสิ่งแวดล้อม ด้ำนต่อต้ำนคอรัปชั่น เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่ำนี้ทำง UNGC มองว่ำเป็นปัจจัยส ำคัญ

               ในกำรด ำเนินกำรธุรกิจอย่ำงยั่งยืน โดยอำจเริ่มได้จำกจุดเล็กๆที่สำมำรถท ำได้ เช่น บริษัทมีกำรเริ่มต้นลงวัน
               หมดอำยุของเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น เป็นกำรแสดงให้เห็นว่ำ เรื่องสิทธิฯ เป็นเรื่องที่ใช้ในกำรพัฒนำประเทศและ

               เศรษฐกิจอย่ำงแท้จริง

                                 เมื่อมีกำรรวมเป็นสมำคมหรือองค์กรก็จะสำมำรถด ำเนินกำรต่ำงๆได้ในรูปแบบต่ำงๆ เช่น

               กำรจัดอบรมสัมมนำโดยมีกำรเชิญวิทยำกรหรือผู้เชี่ยวชำญจำกต่ำงประเทศมำให้ควำมรู้ กำรจัดท ำวำรสำร



               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32