Page 25 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 25

24



                                  ๔) ด้ำนกำรสร้ำงหลักประกันด้ำนสิทธิสิทธิมนุษยชน ทำงกรมฯ รับผิดชอบกติกำระหว่ำง

               ประเทศ ๕ ฉบับจำกทั้งหมด ๗ ฉบับ โดยรัฐได้มีกำรร่ำงพระรำชบัญญัติ ๒ ฉบับ ซึ่งขณะนี้อยู่ในชั้น
               คณะกรรมกำรกฤษฎีกำ คือ พระรำชบัญญัติคุ้มครองบุคคลสูญหำย และพระรำชบัญญัติป้องกันกำรทรมำน

               เพื่อเป็นกำรป้องกันเพิ่มเติมจำกกฎหมำยอำญำให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น และขณะนี้ได้มีกำรด ำเนินกำรวำงมำตรฐำน

               กำรท ำงำนของผู้ปฏิบัติงำน ในทุกระดับ เช่น จะมีกำรก ำหนดอ ำนำจผู้ดูแลเรือนจ ำหรือผู้ใช้อ ำนำจทำง

               กฎหมำยให้ชัดเจน

                               ๕) กำรขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชำติฉบับที่ ๓ ทำงกรมฯ มีกำรสื่อสำรให้ส่วนรำชกำร

               ต่ำงๆ ทบทวนกำรท ำงำนของตัวเอง โดยให้แจกแจงแผนงำนว่ำ กำรท ำงำนส่วนใดมีกำรสุ่มเสี่ยงที่จะละเมิด

               สิทธิหรือไม่ และต้องท ำแผนไม่ให้มีกำรละเมิดสิทธิรวมทั้งต้องรำยงำนผลตำมแผน ซึ่งทำงกรมฯ จะต้อง
               รำยงำนต่อคณะรัฐมนตรีทุกปี ถือเป็นหลักกำรประกันไม่ให้มีกำรละเมิดสิทธิ

                           ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมฯ จะต้องด ำเนินกำรให้เกิดแผนปฏิบัติกำรด้ำนธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน

               ในส่วนของธุรกิจกับกำรเคำรพสิทธิมนุษยชนต้องอำศัยองค์ควำมรู้ที่จะท ำให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมำ โดยควำม

               ร่วมมือจำกหน่วยงำนต่ำงๆเข้ำมำมีส่วนร่วม ซึ่งภำรกิจของธุรกิจตำมแผนปฏิบัติกำรด้ำนธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน

               ปลัดกระทรวงยุติธรรมมีควำมเห็นว่ำต้องมีกำรท ำแยกออกมำเพื่อควำมชัดเจน เพรำะเป็นกิจกรรมที่ใช้

               องค์ควำมรู้ที่แตกต่ำงออกไป

                                   รศ.ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช อนุกรรมการด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

               ได้อภิปรำยว่ำ ผู้ที่อยู่ในองค์กรธุรกิจที่จะได้รับกำรคุ้มครองจำกหลักกำร UNGP ได้แก่

                                   ๑) ลูกจ้ำงทุกระดับในองค์กรธุรกิจ
                                       (๑) ห้ำมเลือกปฏิบัติ

                                       ตำมข้อที่ ๑๒ ของหลักกำร UNGP ซึ่งกำรเคำรพสิทธิมนุษยชนเป็นมำตรฐำน

               ระดับประเทศ ทั้งในเรื่องกำรห้ำมเลือกปฏิบัติ โดยนำยจ้ำงต้องปฏิบัติกับลูกจ้ำงชำยและผู้หญิงอย่ำงเท่ำเทียม

               กัน ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องค่ำจ้ำง หรือสวัสดิกำรต่ำงๆ กำรเลือกรับหรือไม่รับลูกจ้ำงผู้หญิง

                                  (๒) Core Labour Standard

                                        เช่น กำรห้ำมใช้แรงงำนเด็ก  กำรห้ำมใช้แรงงำนบังคับซึ่งแตกต่ำงจำกเรื่องแรงงำนทำส

               โดยเป็นเรื่องเกี่ยวกับกำรข่มขู่ เช่น ข่มขู่ว่ำจะลงโทษหำกไม่ท ำงำนตำมที่สั่ง มีผลท ำให้มี กำรท ำงำนโดยไม่
               สมัครใจ ตัวอย่ำง กรณีที่นำยจ้ำงยึดหนังสือเดินทำงของลูกจ้ำง ท ำให้ลูกจ้ำงต้องท ำงำนไปจนกว่ำนำยจ้ำงจะ

               พอใจ กรณีแรงงำนหนี้ที่ลูกท ำงำนชดใช้หนี้ของพ่อแม่ ซึ่งเรื่องเหล่ำนี้อยู่ในข่ำยกำรห้ำมใช้แรงงำนทั้งหมด กรณี

               กำรห้ำมใช้แรงงำนเด็กแล้วแต่กฎหมำยแต่ละประเทศก ำหนด กรณีสภำพกำรจ้ำง หมำยถึง ไม่เป็นอันตรำยต่อ






               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30