Page 30 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 30

29



               สหประชำชำติ แต่ทำงปฏิบัติตำมกฎหมำยก็ห้ำมหักหนี้จำกค่ำจ้ำง โดยต้องให้เขำใช้หนี้ตำมสัญญำเงินกู้เอง

               ต่ำงหำก แล้วปรำกฏว่ำลูกจ้ำงก็ไม่ใช้หนี้ตำมสัญญำเงินกู้หรือค่ำล่วงหน้ำ
                                   ธุรกิจกำรท่องเที่ยวและกำรโรงแรมในภูเก็ตในปัจจุบันต้องปรับตัวตำมสำกล เพรำะโรงแรม

               ส่วนใหญ่ขำยกำรบริกำรให้กับชำวต่ำงชำติ ปัญหำที่ตำมมำคือ เมื่อโรงแรมปรับระดับของโรงแรมขึ้นเมื่อ

               ระดับสูงขึ้นแล้วก็อำจลอยแพลูกจ้ำงเดิม  ทั้งนี้ ขอถำมเรื่องเกษตรพันธะสัญญำของเครือเจริญโภคภัณฑ์ว่ำถือ

               เป็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม่ เพรำะจำกมุมมองชำวบ้ำนเห็นว่ำสัญญำดังกล่ำวท ำให้เกษตรกรกลำยเป็น

               ลูกจ้ำงในที่ดิน ของตนเอง

                                  ดร.เสรี นนทสูติ  ผู้แทนประเทศไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วย

               สิทธิมนุษยชน เห็นว่ำ จำกที่ สวัสดิกำรและแรงงำนภูเก็ต ชี้แจงเป็นกำรย้ ำข้อมูลตำมที่อภิปรำยกันไปแล้วว่ำ
               กำรเคำรพสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งที่ภำคธุรกิจต้องท ำอยู่แล้วตำมข้อบังคับของกฎหมำย เช่น สถำนประกอบกำร

               ที่มีลูกจ้ำง ๑๐๐ คน จะต้องจ้ำงแรงงำนพิกำร ๑ คน แต่สิ่งที่ใหม่ที่ต้องด ำเนินกำร คือ  ๑) เรื่องนโยบำย ๒)

               เรื่องกำรตรวจสอบ  โดยจำกเดิมภำคธุรกิจอำจไม่สนใจว่ำห่วงโซ่อุปทำนของท่ำนจะมีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน

               ไม่แต่สิ่งใหม่คือภำคธุรกิจต้องมีนโยบำยและมีกำรตรวจสอบที่มั่นใจได้ว่ำจะไม่มีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนใน

               ทั้งระบบ และมีผลให้หำกำไม่ท ำก็ไม่ได้รับกำรยอมรับ และกำรยอมรับนี้ถือว่ำเป็นต้นทุนของภำคธุรกิจเอง

                                 สิ่งที่น่ำเป็นห่วง คือธุรกิจโรงแรมในขนำดเล็กและขนำดกลำง (Small and Medium

               Enterprise - SME)  ที่กำรแก้ปัญหำต้องอำศัยกำรฝึกฝน ปลูกฝังเพิ่มเติมในเรื่องธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน

               จำกกำรเริ่มต้นที่ต้องมีกรอบของนโยบำยก่อน เพรำะหำกไม่มีนโยบำยและมีกำรตรวจสอบกันเอง ท้ำยที่สุด

               แล้วก็ต้องเป็นภำครัฐที่มำตรวจสอบธุรกิจของท่ำนเองก็จะเป็นเรื่องเดิมๆที่จะต้องมำแก้ต่ำงกันกับต่ำงชำติ
               เช่นเดิม ซึ่งไม่ควรรอให้เกิดขึ้น

                                   ดร.เนติธร  ประดิษฐ์สาร ผู้แทน UNGC Thailand ผู้อภิปราย แลกเปลี่ยนควำมเห็นว่ำ

                                    เรื่องเกษตรพันธะสัญญำ ทำงเครือเจริญโภคภัณฑ์มีกำรส ำรวจจำกผู้เข้ำร่วมโครงกำรทั้งหมด

               ปรำกฏว่ำ มีผู้ที่ประสบควำมส ำเร็จคือมีชีวิตที่ดีขึ้นถึงร้อยละ ๙๗ ส่วนที่ไม่ประควำมส ำเร็จร้อยละ ๓ เกิดจำก

               ปัญหำหลำยๆรูปแบบ โดยมีเอกสำรทำงวิชำกำรยืนยันชัดเจน แต่จำกหลักกำรท ำเกษตรกรรม ผู้ที่รับควำม

               เสี่ยง คือบริษัท เพรำะบริษัทเป็นผู้ประกันรำคำสินค้ำว่ำจะซื้อสินค้ำตำมรำคำที่ตกลงไว้ ที่มีกำรมองว่ำเป็น

               กำรจ้ำงท ำกินในที่ดินของตนเองโดยมีกำรก ำหนดรูปแบบกำรด ำเนินกิจกรรมทำงกำรเกษตรต่ำงๆของ
               เกษตรกรที่จริงแล้วเป็นกำรด ำเนินกำรเพื่อควบคุมมำตรฐำนคุณภำพสินค้ำให้ได้ตำมคุณภำพที่คุ้มค่ำกับรำคำ

               ประกัน ซึ่งทำงเครือเจริญโภคภัณฑ์เน้นเรื่องคุณภำพมำตลอดโดยเห็นว่ำเป็นหลักประกันที่ดียิ่งไปกว่ำเรื่อง

               รำคำ เพรำะคุณภำพคือสิ่งเดียวที่เป็นหลักประกันที่ดีที่จะท ำให้มีลูกค้ำใช้สินค้ำอย่ำงยั่งยืน  หำกมีปัญหำใน

               เรื่องเกษตรพันธะเพิ่มเติมก็พร้อมจะหำรือได้



               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35