Page 22 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 22
21
หลักกำร UNGP และเนื้อหำสำระที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงจะแก้ไขข้อสงสัย น ำเสนอข้อดีและทิศทำงที่จะท ำให้
ส ำเร็จได้อย่ำงไร ตำมประสบกำรณ์ของวิทยำกรแต่ละท่ำน ท่ำนละ ๑๕ นำที
ดร.เสรี นนทสูติ ผู้แทนประเทศไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วย
สิทธิมนุษยชน ก่อนน ำเสนอเนื้อหำ เรื่อง “หลักกำรสหประชำชำติว่ำด้วยธุรกิจและสิ่งแวดล้อมกับธุรกิจกำร
ท่องเที่ยวและโรงแรม” ได้กล่ำวถึงควำมส ำคัญ ๔ ประกำร คือ
๑) หลักกำร UNGP เป็นเรื่องใหม่แต่ก็ต้องท ำ หมำยควำมว่ำเรำไม่มีสิทธิเลือกว่ำจะละเมิด
สิทธิมนุษยชนได้หรือไม่ เนื่องจำกกำรไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนแม้แต่ ในภำคธุรกิจเป็นหน้ำที่ที่ต้องท ำ
๒) หลักกำร UNGP น ำมำใช้กับธุรกิจทุกรูปแบบและทุกขนำด ไม่ว่ำจะเป็นระดับธุรกิจ
ขนำดเล็ก ธุรกิจระดับชำติ ไปจนถึงธุรกิจระดับโลก ซึ่งหลักพื้นฐำนคือ ภำคธุรกิจต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน
๓) ขอชื่นชม กสม. ที่เลือกภำคธุรกิจกำรโรงแรมและท่องเที่ยว อำจมีข้อสงสัยว่ำเหตุใด
ถึงเริ่มที่ธุรกิจกำรท่องเที่ยวและกำรโรงแรมก่อนนั้น เป็นไปตำมที่ประธำน กสม. ได้กล่ำวว่ำ อุตสำหกรรมกำร
ท่องเที่ยวมีส่วนส ำคัญกับเศรษฐกิจและผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศไทยอย่ำงยิ่ง
๔) ในส่วนภูมิภำคอำเซียน เรื่องธุรกิจกับกำรเคำรพสิทธิมนุษยชนมีควำมส ำคัญอย่ำงยิ่ง
เนื่องจำกไม่ใช่มีกำรผลักดันเพียงในระดับประเทศเท่ำนั้น แต่มีกำรผลักดันร่วมกันในระดับอำเซียนด้วย
ขณะนี้ทำง กสม. ได้ท ำกำรแปลคู่มือหลักกำรชี้แนะ เรื่อง ธุรกิจส ำหรับสิทธิมนุษยชนตำม
กรอบงำนขององค์กำรสหประชำชำติในกำรคุ้มครอง เคำรพและกำรเยียวยำ ซึ่งหลักกำรนี้ได้รับควำมเห็นชอบ
แล้วทั้งหมด ๔๗ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย ดังนั้น หลักกำร UNGP จึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวส ำหรับ
ภำคธุรกิจ ตำมหลักกำรพื้นฐำนที่ว่ำภำคธุรกิจจะต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน แต่มีเรื่องที่ใหม่คือ ภำคธุรกิจต้อง
ป้องกันไม่ให้เกิดควำมเสียหำยจำกกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนด้วย โดยภำคธุรกิจจะต้องจัดท ำนโยบำยที่ชัดเจน
ว่ำจะไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและกำรไม่ละเมิดเป็นหน้ำที่ ซึ่งจะถือเป็นควำมตั้งใจที่จะไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน
และเมื่อมีควำมตั้งใจเกิดขึ้นแล้วจะท ำให้ภำคธุรกิจปรับเปลี่ยนองค์กรให้ไม่มีกำรละเมิดเกิดขึ้น
นอกจำกหลักกำร UNGP ภำคธุรกิจยังได้มีกำรเข้ำร่วมกันท ำข้อตกลงโลกแห่ง
สหประชำชำติ (UN Global Compact Local Network-UNGC) เพื่อประกำศว่ำภำคธุรกิจที่เข้ำร่วมได้น ำ
หลักกำร UNGP มำใช้แล้ว จึงหวังว่ำจะเห็นผู้ประกอบกิจกำรของไทยเรำเข้ำร่วมกับ UNGC เช่นกัน ซึ่งปัจจุบัน
มีบริษัทที่เข้ำร่วมกว่ำ ๘,๐๐๐ บริษัททั่วโลก ซึ่งเป็นกำรสมัครใจที่แสดงว่ำมีข้อผูกพัน (commitment) ตำม
หลักกำร UNGP โดยมั่นใจแล้วว่ำภำคธุรกิจมีนโยบำยที่ดีพอและไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน และที่ส ำคัญที่สุดคือ
มั่นใจด้วยว่ำ ธุรกิจในห่วงโซ่อุปทำน (Supply chain) ก็ไม่มีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น
น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559