Page 18 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 18
17
โดยค านึงถึงสิทธิมนุษยชน (UN Guiding Principles on Business and Human Rights – UNGPs) ที่สร้าง
ขึ้นบน ๓ เสาหลัก คือ
๑) ให้รัฐมีหน้าที่ในการ “คุ้มครอง” ประชาชน (State Duty to Protect) จากการถูกละเมิด
สิทธิมนุษยชนที่กระท าโดยบุคคลรวมทั้งองค์กรภาคธุรกิจจากการมีนโยบายควบคุมที่เหมาะสม
๒) ให้ภาคธุรกิจ “เคารพ” ในหลักสิทธิมนุษยชน (Corporate Responsibility to Respect) ไม่
ว่าจะเป็นธุรกิจระดับใดก็ตาม ต้องค านึงถึงผลกระทบในทางลบที่จะตามมาในการด าเนินกิจการ และควรที่จะ
ใช้ความระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงการละเมิดสิทธิของผู้อื่น
๓) การเข้าถึง “การเยียวยา” (Access to Effective Remedy) ผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนต้อง
เข้าถึงการเยียวยาที่มีประสิทธิผลได้มากขึ้น ไม่ว่าเป็นการเยียวยาในทางศาลหรือไม่ใช่ศาล
แม้จะเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าหลักการชี้แนะเรื่องธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGPs) นี้
จะบรรลุผลได้ก็ต่อเมื่อมีแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on
Business and Human Rights – NAP) ซึ่งริเริ่มโดยรัฐเป็นกุญแจส าคัญในการบังคับใช้หลักการชี้แนะเรื่อง
สิทธิมนุษยชนส าหรับภาคธุรกิจ (UNGPs) กระนั้นก็ตาม มีเพียงไม่กี่ประเทศที่ได้ประกาศใช้แผนปฏิบัติการชาติ
ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน และนับถึงปัจจุบัน ไม่มีประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกประกาศใช้แผนปฏิบัติ
การแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) เลยแม้แต่ประเทศเดียว ในขณะที่สถาบันสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติได้แสดงบทบาทน าในการริเริ่มจัดท าแผนดังกล่าวฯ ทั้งในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และ
ฟิลิปปินส์ อีกทั้งรัฐบาลของประเทศเมียนมาร์ก็ได้ประกาศเจตนารมณ์ในการจัดท าแผนปฏิบัติการแห่งชาติว่า
ด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ทั้งทวีปเอเชียยังเผชิญช่องว่างที่ส าคัญในการพัฒนา
แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) ทั้งนี้ แผนปฏิบัติการแห่งชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิ
มนุษยชน ที่ได้รับความเชื่อถือจะเป็นเครื่องมือที่ศักยภาพส าคัญในการจัดการปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญ
ของทวีปเอเชีย ทั้งเรื่องสิทธิแรงงานข้ามชาติ การปกป้องและเคารพสิทธิแรงงาน ผลกระทบต่อสิทธิในที่ดิน
สิ่งแวดล้อม และสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ ยิ่งไปกว่านั้นแผนปฏิบัติการชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนที่ถูก
จัดท าอย่างถูกต้องจะมีบทบาทส าคัญในการส่งเสริมการลงทุน (investment) และห่วงโซ่อุตสาหกรรมการผลิต
(supply chain) ที่ยั่งยืน
ในเวทีดังกล่าว วิทยากรจะได้อภิปรายร่วมกันถึง ความส าคัญของ“หลักการชี้แนะ เรื่องสิทธิ
มนุษยชนส าหรับธุรกิจตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา” (The
UN Guiding Principles on Business and Human Rights-UNGP) ที่มีต่อภาครัฐและภาคธุรกิจที่อาจส่งผล
ต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยและในภูมิภาคอาเซียน บทบาทของรัฐบาลในการจัดท าแผนปฏิบัติการชาติว่า
ด้วยสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human Rights) บทบาทและนโยบายของ
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และรับฟังประสบการณ์และความคิดเห็นการในเข้าเป็นสมาชิกข้อตกลงโลก
แห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact) ของภาคธุรกิจ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ภาคธุรกิจในการ
ด าเนินธุรกิจโดยค านึงถึงประโยชน์และความส าคัญของการเคารพสิทธิมนุษยชน ที่จะส่งเสริมการเติบโตของ
ภาคธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรมอย่างมั่นคง (Stable) และยั่งยืน (Sustainable) สร้างความเชื่อมั่น
ให้แก่นักท่องเที่ยวจากประเทศต่างๆ และพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในระดับสากล
น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559