Page 19 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 19

18



                           ๘.๒ วิทยากรและผู้ด าเนินรายการ

                                ๑) ดร.เสรี นนทสูติ                ผู้แทนประเทศไทยในคณะกรรมาธิการระหว่าง
                                                                  รัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
                                ๒) นางกรรณิการ์ แสงทอง            อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสีรภาพกระทรวง

                                                                  ยุติธรรม
                                ๓) รศ.ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช     อาจารย์ประจ าคณะนิติศาสตร์
                                                                  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอนุกรรมการด้าน

                                                                  สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
                                ๔) ดร. เนติธร ประดิษฐ์สาร         UN Global Compact Local Network
                                                                  ประเทศไทย
                                ผู้ด าเนินรายการ
                                ดร. วีระศักดิ์  แสงสารพันธ์       อนุกรรมการด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ

                                                                  วัฒนธรรม
               ประวัติวิทยากรและผู้ด าเนินรายการ
               ๑) ดร. เสรี นนทสูติ ผู้แทนประเทศไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

                           ดร.เสรีส าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต จาก
               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาโท นิติศาสตร์ด้านกฎหมายการค้าระหว่าง
               ประเทศ จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นิวยอร์ค และปริญญาเอกนิติศาสตร์ จาก
               มหาวิทยาลัย อ็อกฟอร์ด สหราชอาณาจักร

                           หลังได้รับการแต่งตั้งจากคณะรัฐมนตรีในปี ๒๕๕๖ ดร. เสรีฯ ได้
               ด ารงต าแหน่งผู้แทนไทยในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิ
               มนุษยชนโดยมีวาระการด ารงต าแหน่ง ๓   ปี นับตั้งแต่การแต่งตั้ง
               คณะกรรมาธิการฯ ได้ด าเนินกิจกรรมที่ส าคัญที่มีส่วนช่วยในการทบทวนเอกสาร

               ขอบเขตอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการฯ เพื่อสร้างเสริมประสิทธิภาพในภารกิจด้านการคุ้มครองสิทธิ
               มนุษยชน และประเทศไทยได้มีบทบาทหลักในการร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ
               กระบวนการทบทวนเอกสารดังกล่าว เอกสารขอบเขตอ านาจหน้าที่ใหม่ถูกคาดหวังว่าจะท าให้
               คณะกรรมาธิการฯ สามารถมีอ านาจหน้าที่ในการสื่อสารและรับเรื่องน้องเรียนจากบุคคลที่ตกเป็นเหยื่อจาก

               การละเมิดสิทธิมนุษยชนในอาเซียน ก่อนได้รับแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งในคณะกรรมาธิการฯ ดร.เสรีเคยเป็น
               สมาชิกของคณะท างานการร่างปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน โดยปฏิญญาดังกล่าวนับเป็นเครื่องมือ
               ด้านสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาคฉบับแรกที่ถูกรับรองโดยผู้น าอาเซียน ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๕

               นอกจากนั้น ดร.เสรียังสอนในสถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยมหิดลและ
               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวิชาสิทธิมนุษยชนและกฎหมาย นอกจากนั้นยังเคยด ารงต าแหน่งที่ปรึกษาด้าน
               กฎหมายในหน่วยงานราชการหลายหน่วยงาน เช่น กระทรวงการคลังและกระทรวงสาธารณสุข ปัจจุบันยัง
               ด ารงต าแหน่งรองกรรมการผู้จัดการของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาองค์กรภาครัฐซึ่งเป็นสถาบันที่มุ่งเน้นการ
               ส่งเสริมการบริหารที่ดีและประสิทธิภาพขององค์กรรัฐวิสาหกิจไทยผ่านการวิจัย การฝึกอบรมบุคลากรภาครัฐ

               และระบบการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ


               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24