Page 20 - รายงานวิจัย เรื่อง ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
P. 20

ความเป็นมาและวิธีการศึกษา




                         ๒. วัตถุประสงค์


                            ๒.๑ เพื่อศึกษาการด�าเนินชีวิตของผู้ลี้ภัย ภายใต้สถานการณ์เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในปัจจุบัน

                            ๒.๒ เพื่อประเมินความต้องการในการเตรียมความพร้อมเพื่อการส่งคืนผู้ลี้ภัยและครอบครัวกลับสู่ถิ่นฐาน
                            ๒.๓ เพื่อวิเคราะห์แนวทางการส่งกลับประเทศต้นทางและทางเลือกอื่นๆ ของผู้ลี้ภัย โดยค�านึงถึงความสมัครใจ
                                  ความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต รวมทั้งบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง




                         ๓. ขั้นตอนและวิธีการด�าเนินการ




                              ๓.๑ พื้นที่การศึกษา
                                  ค่ายผู้ลี้ภัย ๙ แห่ง ในประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี และราชบุรี จากข้อมูลของ
                  UNHCR ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีจ�านวนประชากร ดังนี้



                                          ค่ายผู้ลี้ภัย                           จ�านวนประชากร (คน)

                        จังหวัดแม่ฮ่องสอน

                           บ้านใหม่ในสอย  อ�าเภอเมือง                                    ๑๘,๓๒๗

                           บ้านแม่สุริน อ�าเภอขุนยวม                                      ๓,๖๖๑
                           บ้านแม่ลามาหลวง อ�าเภอสบเมย                                   ๑๓,๘๙๑

                           บ้านแม่ละอูน อ�าเภอสบเมย                                      ๑๓,๙๕๖

                        จังหวัดตาก

                           บ้านแม่หละ อ�าเภอท่าสองยาง                                    ๓๑,๔๕๙

                           บ้านอุ้มเปี้ยมใหม่ อ�าเภอพบพระ                                ๑๓,๐๙๖
                           บ้านนุโพ อ�าเภออุ้มผาง                                        ๑๐,๒๗๘

                        จังหวัดกาญจนบุรี

                           บ้านต้นยาง อ�าเภอสังขละบุรี                                    ๓,๓๗๘

                        จังหวัดราชบุรี

                           บ้านถ�้าหิน อ�าเภอสวนผึ้ง                                      ๗,๕๐๐

                                            รวม                                         ๑๑๕,๕๔๖



                                  ค่ายผู้ลี้ภัยทั้ง ๙ แห่งนี้ นอกจากจะมีความแตกต่างกันในด้านขนาดของประชากรผู้ลี้ภัยแล้ว ยังมีความแตกต่าง

                  ในด้านองค์ประกอบทางชาติพันธุ์ ตลอดจนประสบการณ์ในการหนีภัยการสู้รบ และความสัมพันธ์กับชุมชนและเครือข่ายในประเทศ
                  พม่า/เมียนมาร์ เนื่องจากข้อจ�ากัดด้านเวลาในการเก็บข้อมูลและงบประมาณในการด�าเนินการ คณะผู้วิจัยได้เลือกพื้นที่ศึกษาโดยวิธีการ

                  Stratified Purposive Sampling (การเลือกตัวอย่างเจาะจงตามชั้นภูมิ) ดังนี้



 6                                                                                                                    7
 ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว               ทางเลือกเชิงนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้ลี้ภัยในค่ายพักพิงชั่วคราว
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25