Page 49 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 49

เพิ่มสิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้เสียหาย โดยผู้เสียหายชาวต่างชาติสามารถได้รับการผ่อนผันให้อยู่
                   ในราชอาณาจักรได้เป็นการชั่วคราว และได้รับอนุญาตให้ท างานเป็นการชั่วคราวตามมาตรา ๓๗ โดยการ

                   ขอผ่อนผันตามมาตรานี้ ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการด านินคดี การรักษาพยาบาล การบ าบัดฟื้นฟู หรือ
                   การเรียกร้องสิทธิของผู้เสียหาย
                              สิทธิในการได้รับการคุ้มครองพยาน (มาตรา ๓๖)  โดยระบุการให้ความคุ้มครองความ
                   ปลอดภัยในทุกระยะไม่ว่าก่อน ระหว่างหรือหลังการด าเนินคดี และสามารถได้รับการคุ้มครองตาม

                   กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพยานในคดีอาญาด้วย ซึ่งประเด็นท้าทายตามมาตรานี้ ได้ก าหนดให้รัฐบาล
                   ไทยได้ประสานหน่วยงานในประเทศต้นทางและปลายทางให้เกิดความปลอดภัยให้แก่ผู้เสียหายและบุคคล
                   ในครอบครัวอย่างต่อเนื่องด้วย
                              การคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้เสียหาย  ตามมาตรา ๓๖  ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดให้มี

                   ความคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้เสียหายและบุคคลในครอบครัว ทั้งก่อนและหลังการด าเนินคดี  โดย
                   ผู้เสียหายที่จะให้การหรือเบิกความเป็นพยานจะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง
                   พยานในคดีอาญา
                              การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลของผู้เสียหาย นอกจากนี้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ยังมีบทบัญญัติ

                   คุ้มครองสิทธิของผู้เสียหายด้วยการก าหนดโทษแก่ผู้ที่เผยแพร่ภาพหรือเสียงผ่านสื่อใด  ๆ ให้รู้ถึงชื่อ สกุล
                   ประวัติ ที่อยู่ ที่ท างานสถานศึกษา ของเหยื่อการค้ามนุษย์ โดยมีโทษจ าคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือปรับไม่เกิน
                   ๖๐,  ๐๐๐ บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ  ยกเว้นผู้เสียหายยินยอมเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหายเองหรือเพื่อ

                   คุ้มครองและช่วยเหลือผู้เสียหาย
                              ๔. กลไกสนับสนุนการด าเนินงาน โดยกฎหมายได้ก าหนดให้มีกลไกต่างๆ ในระดับชาติ
                   เพื่อรองรับการด าเนินงานตามกฎหมาย ดังนี้
                                 (๑)  คณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (ปคม.) โดยนายกรัฐมนตรีเป็น
                                     ประธานกรรมการ มีปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็น

                                     เลขานุการ มีอ านาจในการก าหนดนโยบายยุทธศาสตร์แนวทางการศึกษาวิจัย
                                     ปรับปรุงกฎหมาย
                                 (๒)  คณะกรรมการประสานและก ากับการด าเนินงานปูองกันและปราบปรามการค้า

                                     มนุษย์ (ปกค.) มีรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีเป็น
                                     ประธาน และมีรองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็น
                                     เลขา ท าหน้าที่จัดท าและก ากับการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการและการพัฒนา
                                     ศักยภาพบุคลากร รวมทั้งการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ   ซึ่ง

                                     คณะกรรมการชุดนี้จะถือเป็นกลไกขับเคลื่อนในระดับหน่วยงานปฏิบัติอย่างแท้จริง
                                 (๓)  กองทุนเพื่อการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ถูกระบุไว้ในกฎหมายด้วย
                                     เพื่อให้มีเงินส าหรับการปูองกันและปราบปราม การสงเคราะห์เยียวยาผู้เสียหาย
                                     จากการค้ามนุษย์ โดยมีคณะกรรมการบริหารกองทุน มีระเบียบเบิกจ่ายรองรับ

                                     ทั้งนี้ รัฐบาลได้ก าหนดให้น าเงินทุนที่เหลือจากกองทุน ๑  ล้านบาทที่ได้มาจากการ
                                     ประกาศเป็นวาระแห่งชาติ มาเป็นทุนประเดิมให้แก่กองทุนตามกฎหมายนี้  ซึ่ง
                                     กองทุนตามพระราชบัญญัติฯนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือและคุ้มครองความ
                                     ปลอดภัยให้กับผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์  ช่วยเหลือให้เดินทางกลับเข้ามาใน


                                                             ๒๙
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54