Page 187 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 187

ข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร และพิธีสารว่าด้วยการปูองกัน ปราบปราม และลงโทษ
                   การค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็กรวมทั้งได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการ

                   มีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติพ.ศ. ๒๕๕๖
                          ส าหรับกฎหมายภายในประเทศ ประเทศไทยมีกฎหมาย ๘ ฉบับที่เกี่ยวข้องกับ การปูองกัน
                   และปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ (๑) พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ (๒)
                   พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ. ๒๕๓๙ (๓) พระราชบัญญัติปูองกันและ

                   ปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๐ (๔) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย
                   อาญา (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๔๐ (๕) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
                   ความอาญา (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๔๒ (๖) พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.
                   ๒๕๔๒ (๗) บันทึกข้อตกลงเรื่องแนวทางปฏิบัติร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด าเนินการ

                   กรณีหญิงและเด็กที่ตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ (๘) พระราชบัญญัติปูองกันและ
                   ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
                           อย่างไรก็ดี  การที่ประเทศไทยมีกฎหมายหลายฉบับท าให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับผู้ที่
                   ตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ที่ถูกขบวนการค้ามนุษย์น าพาเข้ามาโดยไม่มีเอกสารเดินทางใดๆ เมื่อ

                   ถูกจับได้ก็จะถูกด าเนินคดีตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งต้องถูกน าตัวไปอยู่ในห้อง
                   กักของด่านตรวจคนเข้าเมือง ต้องผ่านกระบวนการพิสูจน์สัญชาติ และต้องถูกส่งกลับประเทศต้นทาง
                   หรือส่งไปประเทศที่ ๓ หากได้รับการยอมรับให้ไปอยู่ได้ การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง

                   พ.ศ. ๒๕๒๒ เช่นนี้เป็นปัญหากับชาวโรฮิงญา ที่ต้องอยู่ในห้องกักของส านักงานตรวจคนเข้าเมืองเป็น
                   เวลายาวนานมาก เพราะประเทศต้นทางคือเมียนม่าร์ไม่ยอมรับชาวโรฮิงญาจึงส่งกลับประเทศต้นทาง
                   ไม่ได้  รวมทั้งไม่สามารถส่งไปยังประเทศที่ ๓ ได้ เพราะไม่มีประเทศใดรับ
                          ประการต่อมาเป็นปัญหาการบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)  ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิด
                   จากกระบวนการคัดแยกเหยื่อที่ยังคงมีข้อบกพร่อง  อีกทั้งความพยายามเชิงรุกของเจ้าหน้าที่ต ารวจ

                   ตรวจคนเข้าเมืองที่จับกุมและส่งตัวผู้ลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายกลับประเทศท าให้เหยื่อบางราย
                   ต้องรับโทษ  โดยทั่วไป เจ้าหน้าที่ต ารวจพยายามให้เหยื่อการค้ามนุษย์มีส่วนร่วมในการสอบสวนและ
                   ด าเนินคดีกับผู้กระท าความผิดข้อหาค้ามนุษย์ แต่เหยื่อบางคนเลือกที่จะไม่ร่วมมือในการสอบสวน

                   เพราะกลัวถูกลงโทษ  หลายรายหลบหนีออกจากสถานพักพิงหรือพยายามหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกระบุตัว
                   ว่าเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์  ท าให้ไม่สามารถลงโทษผู้ที่ท าการค้ามนุษย์ได้
                          นอกจากนี้กระบวนการในการด าเนินคดีฟูองร้องทางแพ่งและเจรจาเรียกร้องค่าเสียหาย
                   ชดเชยให้กับเหยื่อการค้ามนุษย์ การค้าแรงงานทั้งเด็กและผู้ใหญ่  อุปสรรคด้านค่าใช้จ่ายที่สูงใน

                   การด าเนินการทางกฎหมาย ภาษา ระบบราชการและการเข้าเมือง รวมถึงความกลัวที่จะถูก
                   นักค้ามนุษย์แก้แค้น ความไม่ไว้ใจเจ้าหน้าที่ และกระบวนการทางกฎหมายที่ล่าช้า ท าให้เกิดปัญหา
                   อุปสรรคต่อเหยื่อของการค้ามนุษย์ในการเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมายเป็นอย่างมาก
                          ภาคเอกชน องค์การระหว่างประเทศ และภาคประชาสังคม ใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงาน

                   ปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ร่วมกัน ตามหลักบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย
                   ทุกภาคส่วน เพื่อเป็นการระดมสรรพก าลังและความคิดเห็นจากปัญหาและอุปสรรคในการท างานทุก
                   ระดับและให้บรรลุความมุ่งหวังร่วมกัน  โดยมีศูนย์ปฏิบัติการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
                   แห่งชาติ (ศปคม. แห่งชาติ) สังกัดส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

                   เป็นหน่วยงานกลาง ในการประสานการขับเคลื่อนการด าเนินงานในด้าน การปูองกัน การด าเนินคดี


                                                          ๑๖๗
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192