Page 186 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 186

(๘) การน าพาโดยการปลอมแปลงเอกสารเดินทาง มีแก๊งค์ปลอมหนังสือ
                   เดินทาง ในกรณีที่จะมีการเดินทางข้ามประเทศผ่านนายหน้าที่ได้เสาะแสวงหาเด็กผู้หญิงตามหมู่บ้าน

                   โดยจะไปรับจากหมู่บ้านในฝั่งเมียนมา ลาว กัมพูชา
                                         (๙) การไปน าพามาทีละคน เช่น ในหนึ่งครอบครัว นายหน้าจะหลอกคนใด
                   คนหนึ่งมาก่อนอาจจะเป็น แม่ หรือพ่อ หลังจากนั้นจะเดินทางกลับไปบอกกับลูก ๆ ของแรงงานที่พา
                   มาครั้งแรกว่าพ่อ หรือแม่ให้ไปอยู่ด้วย

                                         (๑๐) การท า "บัตรผ่านแดน" แบบไปเช้า-เย็นกลับ พอผ่านไปได้ก็ไม่ใช่เรื่อง
                   ยากที่จะไปแสวงโชคต่อ เพราะจะมีนายหน้าพาเดินเข้าปุา จากนั้นจะขนใส่รถกระบะเข้ากรุงเทพฯ

                          ๕.๑.๕ เส้นทางในการเดินทาง

                          ผลการศึกษาสรุปได้ว่า เส้นทางของกระบวนการค้ามนุษย์มีจุดเริ่มต้นที่ส าคัญจากบริเวณ
                   ชายแดนซึ่งเป็นพื้นที่เชื่อต่อระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งสามารถสรุปเส้นทางส าคัญ
                   ได้ดังนี้
                          ๕.๑.๕.๑ บริเวณชายแดนไทย-พม่า ได้แก่

                              -  แนวชายแดนเข้าตามช่องทางธรรมชาติอ าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
                              -  ช่องทางจังหวัดระนอง
                              -  ช่องทางอ าเภอแม่สอด จังหวัดตาก

                              -  ช่องทางอ าเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
                              -  ช่องทางชายแดนภาคเหนือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดเชียงใหม่
                          ๕.๑.๕.๒ บริเวณชายแดนไทย-ลาว
                              -  ช่องทางอ าเภอเชียงค า จังหวัดพะเยา

                              -  ช่องทางอ าเภอพิบูลย์มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
                              -  ช่องทางจังหวัดมุกดาหาร
                              -  ช่องทางจังหวัดนครพนม

                              -  ช่องทางจังหวัดหนองคาย
                          ๕.๑.๕.๓ บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา
                              -  ช่องทางอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
                              -  ช่องทางจังหวัดสุรินทร์

                              -  ช่องทาง จังหวัดอุบลราชธานี

                   ๕.๒  ปัญหา อุปสรรค ในการบังคับใช้กฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติป้องกันและ

                   ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑
                          ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ข้อ ๒  พบว่า ประเทศไทยได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการใช้
                   กฎหมายระหว่างประเทศแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์หลายฉบับ ความตกลงระหว่างประเทศที่ไทยลง
                   นามในกรอบการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ทั้งในระดับ ทวิภาคี และพหุภาคี รวมแล้วไม่ต่ า

                   กว่า ๑๐ ฉบับ อันสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของไทยในการร่วมมือกับนานาประเทศและองค์การระหว่าง
                   ประเทศในการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ล่าสุดคือเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
                   ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันและเข้าเป็นรัฐภาคีของอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรม


                                                          ๑๖๖
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191