Page 65 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 65

ค่าเฉลี่ยมาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกก�าหนดไว้ไม่เกินร้อยละ ๑๐ และข้อมูลของคณะกรรมการ

                 คุ้มครองเด็กแห่งชาติ ยังพบด้วยว่าอายุเฉลี่ยของการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นไทยจะอยู่ที่ ๑๓ - ๑๕ ปี

                 โดยอายุน้อยสุดที่มาคลอดบุตรในโรงพยาบาลรัฐพบว่า เป็นเด็กอายุเพียง ๑๐ ปี (วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์,

                 ๒๕๕๓, น. ๕ - ๙) นอกจากนี้ รายงานของส�านักงานอนามัยเจริญพันธุ์พบว่า สถานการณ์ อนามัย

                 การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ เผยให้เห็นว่า มีเยาวชนหญิงตั้งครรภ์ อายุ ๑๕

                 - ๑๙ ปี ๑๓๒,๑๔๗ คน จากจ�านวนเยาวชนหญิง อายุ ๑๕ - ๑๙ ปี ทั้งหมดในประเทศ ๒,๓๕๖,๖๓๗

                 คน (ส�านักงานอนามัยเจริญพันธุ์, ๒๕๕๓)


                       l  พระร�ชบัญญัติก�รศึกษ�แห่งช�ติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ฉบับเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๕



                       เนื่องจากเป็น พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ จึงเกี่ยวข้องโดยตรงกับสิทธิมนุษยชนและสิทธิอนามัย

                 เจริญพันธุ์ประเด็นสิทธิในการเข้าถึงความรู้ สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารและการศึกษาโดยตรง

                 ซึ่งการศึกษาส�าหรับ พ.ร.บ. ได้ก�าหนดความหมายไว้ดังนี้



                               “ “ก�รศึกษ�” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล

                           และสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม

                           การสร้างสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัด

                           สภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต



                               “สถ�นศึกษ�” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน

                           วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของ

                           เอกชนที่มีอ�านาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา



                               “ก�รศึกษ�ตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง
                           การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนา


                           คุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต”


                       และในประเด็นแม่วัยรุ่น พบว่า พ.ร.บ. นี้ได้เข้ามาคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงความรู้ การได้รับ

                 ข้อมูลข่าวสารและการศึกษาของเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์และมีความต้องการเข้าถึงความรู้และได้รับ










                             64    // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70