Page 70 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 70
(๔) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ
ของเด็ก
(๕) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ
มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ ห้ามมิให้
ผู้ใดกระท�าการ ดังต่อไปนี้
(๑) กระท�าหรือละเว้นการกระท�าอันเป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรือจิตใจ
ของเด็ก
(๒) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งจ�าเป็นแก่การด�ารงชีวิตหรือการรักษาพยาบาลแก่เด็ก
ที่อยู่ในความดูแลของตน จนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
(๓) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือ
น่าจะท�าให้เด็กมีความประพฤติเสี่ยงต่อการกระท�าผิด
(๖) ใช้ จ้าง หรือวานเด็กให้ท�างานหรือกระท�าการอันอาจเป็นอันตรายแก่ร่างกาย
หรือจิตใจมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต หรือขัดขวางต่อพัฒนาการของเด็ก
(๗) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรือให้
กระท�าการใด เพื่อแสวงหาประโยชน์ทางการค้าอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางต่อการเจริญ
เติบโตหรือพัฒนาการของเด็กหรือมีลักษณะเป็นการทารุณกรรมต่อเด็ก”
เนื่องจาก พ.ร.บ. ฉบับนี้มุ่งคุ้มครองเด็กไม่ให้ตกอยู่ในอันตราย ดังนั้นเมื่อเยาวชนตั้งครรภ์
และตัดสินใจด�ารงครรภ์ต่อแต่ไม่สามารถเลี้ยงดูทารกได้หลังคลอด เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตาม พ.ร.บ.
จะต้องเข้ามาด�าเนินการคุ้มครองและสงเคราะห์ทารกที่เกิดมาจากเยาวชนที่เป็นแม่ ดังนี้
“มาตรา ๒๘ ในกรณีผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรม
สั่งสอนและพัฒนาเด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด หรือผู้ปกครองกระท�าการใดอันน่าจะเกิดอันตราย
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ // 69