Page 31 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 31

“ข้อ ๑๒ บุคคลใดจะถูกแทรกแซงตามอ�าเภอใจในความเป็นส่วนตัว ครอบครัว ที่อยู่

                           อาศัย หรือการสื่อสาร หรือจะถูกลบหลู่เกียรติยศและชื่อเสียงไม่ได้ ทุกคนมีสิทธิที่จะได้

                           รับความคุ้มครองของกฎหมายต่อการแทรกแซงสิทธิหรือการลบหลู่ดังกล่าวนั้น...


                               ข้อ ๒๕   (๑)  ทุกคนมีสิทธิในมาตรฐานการครองชีพอันเพียงพอส�าหรับสุขภาพและ

                           ความอยู่ดีของตนและของครอบครัว รวมทั้งอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และการดูแล

                           รักษาทางการแพทย์ และบริการสังคมที่จ�าเป็น และมีสิทธิในหลักประกันยามว่างงาน

                           เจ็บป่วย พิการ หม้าย วัยชรา หรือปราศจากการด�ารงชีพอื่นในสภาวะแวดล้อมนอกเหนือ

                           การควบคุมของตน



                                         (๒)  มารดาและเด็กย่อมมีสิทธิที่จะรับการดูแลรักษาและการช่วยเหลือ
                 เป็นพิเศษ เด็กทั้งปวงไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกสมรส จะต้องได้รับการคุ้มครองทางสังคมเช่นเดียวกัน


                               ข้อ ๒๖   (๑)  ทุกคนมีสิทธิในการศึกษา การศึกษาจะต้องให้เปล่าอย่างน้อย


                           ในขั้นประถมศึกษาและขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับประถมจะต้องเป็นภาคบังคับ การศึกษา
                           ด้านวิชาการและวิชาชีพจะต้องเปิดเป็นการทั่วไป และการศึกษาระดับสูงขึ้นไปจะต้อง


                           เข้าถึงได้อย่างเสมอภาคส�าหรับทุกคนบนพื้นฐานของคุณสมบัติความเหมาะสม


                                         (๒)  การศึกษาจะต้องมุ่งไปสู่การพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่

                           และการเสริมสร้างความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพขั้นพื้นฐาน การศึกษาจะต้อง

                           ส่งเสริมความเข้าใจ ขันติธรรม และมิตรภาพระหว่างประชาชาติ กลุ่มเชื้อชาติ หรือศาสนา

                           ทั้งมวล และจะต้องส่งเสริมกิจกรรมของสหประชาชาติ เพื่อการธ�ารงไว้ซึ่งสันติภาพ


                                         (๓)  ผู้ปกครองมีสิทธิเบื้องแรกที่จะเลือกประเภทการศึกษาที่จะให้แก่บุตร

                           ของตน”


                               (ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน, ๒๕๕๔)



                       l  กติก�ระหว่�งประเทศว่�ด้วยสิทธิท�งเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม



                       เป็นกติการะหว่างประเทศที่ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีเมื่อ ๕ กันยายน ๒๕๔๒ และมีผลบังคับ

                 ใช้ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ ซึ่งเนื่องจากเป็นกติการะหว่างประเทศฯ ที่มุ่งก�าหนดถึงบทบาทของรัฐที่มี






                             30    // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36