Page 26 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 26
๑. แนวค�าถามการสัมภาษณ์ระดับลึก : เยาวชนหญิง (ตั้งครรภ์ต่อ)
๒. แนวค�าถามการสัมภาษณ์ระดับลึก : เยาวชนหญิง (ยุติการตั้งครรภ์)
๓. แนวค�าถามสัมภาษณ์ระดับลึกเยาวชนชาย
ที่ท�าให้เยาวชนหญิงตั้งครรภ์ที่ยุติการตั้งครรภ์
๔. แนวค�าถามสนทนากลุ่ม : เยาวชนชาย
๕. แนวค�าถามสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล : เจ้าหน้าที่
๖. แนวค�าถามการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส�าคัญ : เยาวชนชายที่ท�าให้เยาวชนหญิง
ตั้งครรภ์ที่ด�ารงครรภ์ต่อ
๗. แนวค�าถามการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลส�าคัญ : ผู้ปกครอง
๑.๑๐ นิยามศัพท์เฉพาะ
“มิติสิทธิมนุษยชน” ในการศึกษาครั้งนี้หมายถึง สิทธิของเยาวชนหญิงที่จะได้รับการดูแล
ป้องกันสุขภาพอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้แก่ สิทธิที่จะตัดสินใจด้วยตนเองที่จะมีบุตรหรือไม่เมื่อใด
สิทธิในการมีชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี ไม่ถูกกีดกัน แบ่งแยก เลือกปฏิบัติ สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสาร
เรื่องบริการเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ไม่พร้อม การท�าแท้งที่ปลอดภัย การดูแลครรภ์ต่อไปอย่างปลอดภัย
และสิทธิความเป็นส่วนตัว และรักษาความลับในเรื่องการตั้งครรภ์ การคลอด การท�าแท้ง และการ
ใช้บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์และการคลอด
“เย�วชน” หมายถึง ในการวิจัยครั้งนี้ ได้ก�าหนดขอบเขตความหมายของเยาวชน
อยู่ที่อายุ ๒๔ ปี ขณะที่พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
(๒๕๕๐) ก�าหนดขอบเขตเยาวชนอยู่ที่อายุ ๒๕ ปีบริบูรณ์ เนื่องจากในการวิจัยครั้งนี้
ได้ค�านึงถึงวัยรุ่นและการปฏิบัติการทางสังคมที่ “ความเป็นวัยรุ่น” ของกระทรวงสาธารณสุข
ถูกนิยามอยู่ที่อายุ ๒๔ ปี”
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ // 25