Page 33 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 33

เลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบเป็นกรอบแนวคิดการถูกละเมิดสิทธิฯ เพราะเป็นอนุสัญญาที่มุ่ง

                 ขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี บนพื้นฐานส�านึกที่ว่าการเลือกปฏิบัติ “ขัดต่อหลักก�รของ

                 คว�มเสมอภ�คของสิทธิและคว�มเค�รพต่อเกียรติศักดิ์ของมนุษย์” ซึ่งการเลือกปฏิบัติต่อสตรี

                 หมายถึง


                               “การแบ่งแยก การกีดกัน หรือการจ�ากัดใด ๆ เพราะเหตุแห่งเพศ ซึ่งมีผลหรือ

                           ความมุ่งประสงค์ที่จะท�าลายหรือท�าให้เสื่อมเสียการยอมรับ การได้อุปโภค หรือใช้สิทธิ

                           โดยสตรี โดยไม่ค�านึงถึงสถานภาพด้านการสมรส บนพื้นฐานของความเสมอภาคของบุรุษ

                           และสตรีของสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม

                           วัฒนธรรมของพลเมือง หรือด้านอื่น ๆ”



                       ดังนั้น อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบจึงมีความส�าคัญ

                 อย่างมากต่อการคุ้มครองสิทธิของเยาวชนหญิงตั้งครรภ์ไม่ให้ถูกละเมิด นอกเหนือจากประเด็นความ

                 เสมอภาคระหว่างชายหญิง อนุสัญญาฯ ยังขจัดความไม่เสมอภาคระหว่างความไม่เท่าเทียมระหว่าง

                 เยาวชนหญิงตั้งครรภ์ และผู้หญิงตั้งครรภ์เมื่อพ้นการเป็นเยาวชน ตามภาคที่ ๑ ข้อที่ ๑ ตามอนุสัญญา

                 ดังนี้



                               “ปัจจุบันนี้ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างเต็มที่ ความส�าคัญทางสังคมของความเป็นเพศ

                           มารดา และบทบาทของบิดามารดาในครอบครัวและในการเลี้ยงดูบุตร และตระหนักว่า

                           บทบาทของสตรีในการให้ก�าเนิดบุตรไม่ควรจะเป็นพื้นฐานในการเลือกปฏิบัติ แต่ตระหนัก

                           ว่า การเลี้ยงดูบุตรจะต้องได้รับผิดชอบร่วมกันระหว่างบุรุษและสตรี และสังคมทั้งมวล”



                       รัฐมีหน้าที่โดยตรงในการบริการทรัพยากรต่างๆ เพื่อเยาวชนหญิงตั้งครรภ์ตามข้อ ๕


                               “รัฐภาคีจะใช้มาตรการที่เหมาะสมทั้งปวง... (ข) เพื่อประกันว่า การศึกษาเกี่ยวกับ


                           ระบบครอบครัวรวมถึงความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับความเป็นเพศมารดาในฐานะเป็น
                           หน้าที่ทางสังคม และเป็นการยอมรับถึงความรับผิดชอบร่วมกันของบุรุษและสตรีในการ


                           เลี้ยงดูและการพัฒนาบุตร ทั้งยังเป็นที่เข้าใจด้วยว่าในทุก ๆ กรณี ผลประโยชน์ของบุตร
                           ย่อมเป็นสิ่งที่ต้องค�านึงถึงเป็นเบื้องแรก”









                             32    // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38