Page 46 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 46

๑๙



                                 ในส่วนของกำรจัดที่ดินมีอยู่ 2 ส่วน โดยมีรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและ

                   ควำมมั่นคงของมนุษย์ และรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติ
                   ในส่วนที่เกี่ยวกับอ ำนำจหน้ำที่ของตน โดยกรมพัฒนำสังคมและสวัสดิกำร กระทรวงพัฒนำสังคมและ

                   ควำมมั่นคงของมนุษย์ เป็นผู้ด ำเนินกำรจัดที่ดิน ในรูปแบบนิคมสร้ำงตนเอง และกรมส่งเสริมสหกรณ์

                   กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดที่ดินในรูปแบบของนิคมสหกรณ์ โดยทั้งสองหน่วยงำนใช้กฎหมำยฉบับ
                   เดียวกัน ทั้งนี้สมำชิกนิคมจะได้รับสิทธิในที่ดินหำกท ำประโยชน์ติดต่อกันเกินกว่ำ 5 ปี โดยต้องช ำระเงิน

                   ค่ำช่วยทุนและหนี้สินหมดสิ้นแล้ว จึงได้รับหนังสือรับรองกำรท ำประโยชน์ ซึ่งสำมำรถน ำไปขอเอกสำรสิทธิ

                   ตำมประมวลกฎหมำยที่ดินได้ โดยที่ดินนั้นห้ำมโอนไปยังผู้อื่นในระยะเวลำ 5 ปี นับแต่วันที่ได้รับเอกสำร

                   นอกจำกตกทอดทำงมรดกแก่ทำยำทโดยธรรม หรือโอนไปยังสหกรณ์ที่ตนเป็นสมำชิกอยู่ และ
                   ในก ำหนดเวลำดังกล่ำว ที่ดินนั้นไม่อยู่ในกำรบังคับคดี


                                 โดยมีสำระส ำคัญ ดังนี้

                                 (1) อ ำนำจของรัฐในกำรจัดที่ดินกฎหมำยให้อ ำนำจแก่รัฐบำลในกำรจัดที่ดินของรัฐ เพื่อให้

                   ประชำชนได้มีที่ตั้งเคหสถำนและประกอบอำชีพเป็นหลักแหล่งในที่ดินนั้นโดยกำรจัดตั้งเป็นนิคม

                   ตำมกฎหมำยนี้  กำรจัดตั้งนิคมในท้องที่ใดต้องโดยพระรำชกฤษฎีกำ และให้มีแผนที่ก ำหนดแนวเขตที่ดิน
                   ของนิคมไว้ท้ำยพระรำชกฤษฎีกำนั้น


                                 (2)  รูปแบบของกำรจัดที่ดิน  กำรจัดที่ดินมีสองรูปแบบ คือ กำรจัดที่ดินในรูปนิคม
                   สร้ำงตนเอง ด ำเนินกำรโดยกรมพัฒนำสังคมและสวัสดิกำร กระทรวงพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของ

                   มนุษย์ และกำรจัดที่ดินในรูปของนิคมสหกรณ์ ด ำเนินกำรโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและ

                   สหกรณ์ โดยกำรจัดที่ดินทั้งสองแบบนี้ใช้กฎหมำยฉบับเดียวกัน


                                 กำรจัดที่ดินทั้งสองแบบนี้มีส่วนที่เหมือนกัน คือ จะมีกำรตั้งคณะกรรมกำรคัดเลือกผู้มี
                   คุณสมบัติเข้ำเป็นสมำชิกนิคมเพื่อเข้ำท ำประโยชน์ในที่ดินของนิคม โดยแต่ละครอบครัวจะได้รับกำรจัดที่ดิน

                   ให้ตำมก ำลังแห่งครอบครัวของสมำชิกนิคมนั้นแต่ไม่เกินครอบครัวละ 50 ไร่ มีกำรเรียกเก็บเงินค่ำช่วยทุน

                   ที่รัฐบำลได้ลงทุนไปในกำรจัดนิคม สมำชิกนิคมจะได้รับสิทธิในที่ดินต่อเมื่อท ำประโยชน์ในที่ดินติดต่อกันมำ
                   เป็นเวลำเกินกว่ำ 5 ปี และช ำระเงินค่ำช่วยทุนตลอดจนหนี้สินเรียบร้อยแล้วก็จะได้รับหนังสือแสดงกำรท ำ

                   ประโยชน์ ซึ่งหนังสือดังกล่ำวสำมำรถน ำไปยื่นขอออกเอกสำรสิทธิตำมประมวลกฎหมำยที่ดินได้เอกสำร

                   สิทธิตำมประมวลกฎหมำยที่ดินที่ออกให้จะถูกห้ำมโอนไปยังผู้อื่นเป็นเวลำ 5 ปีนับแต่วันที่ได้รับ นอกจำก
                   กำรตกทอดแก่ทำยำทโดยธรรมหรือโอนไปยังสหกรณ์ที่ตนเองเป็นสมำชิกอยู่ และภำยในก ำหนดระยะเวลำ

                   ดังกล่ำว ที่ดินนั้นจะไม่อยู่ในควำมรับผิดแห่งกำรบังคับคดี
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51