Page 44 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 44
๑๗
ใดที่คณะกรรมกำรยังมิได้ประกำศเขตส ำรวจที่ดินตำมควำมในหมวดนี้ก็ดี หรือในกรณีที่สภำพของที่ดิน
เป็นแปลงเล็กแปลงน้อยก็ดี รำษฎรจะขออนุญำตจับจองที่ดินได้โดยปฏิบัติตำมระเบียบ ข้อบังคับ
ข้อก ำหนดและเงื่อนไขที่คณะกรรมกำรก ำหนด และเมื่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่อนุญำตแล้วก็ให้ออกใบจอง
ให้ต่อไป
หนังสือส ำคัญส ำหรับที่หลวง (น.ส.ล.) เป็นเอกสำรที่ทำงรำชกำรออกให้เพื่อแสดง
แนวเขต ที่ตั้ง จ ำนวนเนื้อที่ และกำรใช้ประโยชน์ มิใช่หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์เช่นเดียวกับโฉนดที่ดิน
กำรออก น.ส.ล. เป็นอ ำนำจของอธิบดีกรมที่ดิน ตำมมำตรำ ๘ ตรี แห่งประมวลกฎหมำยที่ดิน ซึ่งอธิบดี
กรมที่ดินได้มอบอ ำนำจให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นผู้ปฏิบัติรำชกำรแทน ในกำรออก น.ส.ล. ตำมค ำสั่ง
กรมที่ดิน ที่ ๘๕๓/๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๑ พฤษภำคม ๒๕๓๕ โดยที่ดินสำธำรณสมบัติของแผ่นดินที่สำมำรถออก
น.ส.ล. มี ๒ ประเภท ได้แก่
(๑) ที่ดินอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินส ำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน (ที่สำธำรณประโยชน์)
เช่น หนองน้ ำ บึง ทุ่งหญ้ำเลี้ยงสัตว์ ป่ำช้ำ ยกเว้น ที่สำธำรณประโยชน์ซึ่งมีสภำพขอบเขตตำมธรรมชำติ
เช่น ล ำน้ ำ ล ำคลอง ทำงบก ทำงน้ ำ ทำงระบำยน้ ำ ที่ชำยตลิ่ง ล ำรำง โดยจะออกในนำมกระทรวงมหำดไทย
(๒) ที่ดินอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินส ำหรับใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพำะ เช่น ที่ดินที่ใช้ในรำชกำร ที่ดินสงวนหวงห้ำม ที่ดินที่รัฐจัดซื้อ ที่ดินที่มีผู้อุทิศให้รัฐ ที่ดินที่ถูก
เวนคืนมำเป็นของรัฐ (อ่ำงเก็บน้ ำ คลองชลประทำน) เป็นต้น โดยจะออกในนำมกระทรวงกำรคลัง
กำรออก น.ส.ล. เป็นมำตรกำรหนึ่งที่จะป้องกันที่ดินอันเป็นสำธำรณสมบัติ
ของแผ่นดินมิให้ถูกบุกรุกหรือเสื่อมสภำพ อีกทั้งยังสำมำรถลดปัญหำกำรพิพำทโต้แย้งเกี่ยวกับแนวเขต
ระหว่ำงรัฐกับเอกชน ซึ่งไม่มีแนวเขตที่แน่นอน และยังไม่ได้มีกำรรังวัดท ำแผนที่ เพื่อแสดงแนวเขตที่ดิน
ของรัฐ
การบังคับใช้กฎหมาย
ประมวลกฎหมำยที่ดินเป็นกำรรวบรวมบทบัญญัติกฎหมำยต่ำงๆ เกี่ยวกับที่ดินที่ใช้บังคับ
อยู่ก่อนปี พ.ศ. 2497 เพื่อประมวลไว้ในที่เดียวกันให้เป็นระบบ เพื่อให้สะดวกแก่กำรบังคับใช้กฎหมำย
ของพนักงำน เจ้ำหน้ำที่ และ อ ำนวยควำมสะดวกแก่ประชำชนในกำรขอมีสิทธิในที่ดิน รวมทั้งปัญหำต่ำงๆ
ในกำรบริหำรจัดกำรเกี่ยวกับที่ดิน ได้รวมไว้ในที่เดียวกัน ตั้งแต่สิทธิครอบครอง กรรมสิทธิ์ กำรจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรม กำรโอน กำรรับสิทธิของคนต่ำงด้ำว กำรจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมของนิติบุคคล
เป็นต้น
ปัญหาอุปสรรค ข้อจ ากัดของกฎหมาย และการแก้ไข
ปัญหำในทำงปฏิบัติของประมวลกฎหมำยที่ดินในปัจจุบัน จะเป็นปัญหำเนื่องมำจำกสิทธิ
ตำมกฎหมำยเดิม ต่อเนื่องมำยังประมวลกฎหมำยที่ดิน เช่น สิทธิครอบครอง (ส.ค.1) สิทธิตำมใบจอง