Page 199 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 199

๑๗๒



                       ๕.  การจ าแนกที่ดิน และการก าหนดแนวเขตที่ดิน  พบว่า การจ าแนกที่ดิน และการก าหนด

               แนวเขตที่ดินเพื่อการพัฒนาประเทศและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ผ่านมา ประกอบกับจ านวน
               ประชากรที่เพิ่มขึ้น มีการใช้ประโยชน์ในที่ดินอันหลากหลาย มีวิชาการใหม่ๆ ในการใช้ประโยชน์ในที่ดิน

               ท าให้การใช้เส้นที่แสดงลักษณะความสูงต่ าของพื้นที่เป็นตัวก าหนดแนวเขตที่ดินตามการจ าแนก เป็นการ
               ด าเนินการที่ล้าสมัย และไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริงตามความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ตามศักยภาพของ

               พื้นที่
                       ๖. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พบว่า รัฐไม่มีการสร้างความ

               เข้าใจกับประชาชน ให้ตระหนักถึงการเป็นพื้นที่แหล่งต้นน้ าล าธารที่ต้องมีการใช้ประโยชน์ร่วมกัน รักษาไว้
               ให้คงอยู่ สร้างการมีส่วนร่วมให้ประชาชนเข้าใจในด้านการอนุรักษ์อย่างถูกวิธี และก าหนดวิธีการในการ

               อยู่กับพื้นที่ควรสงวนรักษาอย่างยิ่งนั้น แต่ในการด าเนินงานของหน่วยงานของรัฐที่ผ่านมา มีแต่ต้องการ
               อพยพโยกย้ายประชาชนแห่งท้องที่นั้นเพียงอย่างเดียว ไม่แก้ไขโดยวิธีอื่น ท าให้ขาดการมีส่วนร่วม

               ของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ที่มีผลกระทบกับระบบนิเวศ
                       ๗.  กระบวนการยุติธรรมกับการก าหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ  พบว่า การก าหนดแนวเขตที่ดิน

               ของรัฐที่เกิดการทับซ้อนที่ดินของประชาชนและท าให้ประชาขนเหล่านั้นเป็นผู้ที่ผิดกฎหมาย ถูกจับกุม
               ด าเนินคดีตามที่กฎหมายก าหนด มีการเลือกปฏิบัติ มีการปล่อยปละละเลยต่อผู้กระท าความผิด มีการ

               ด าเนินการทางคดีกับผู้ด้อยโอกาสและยากจนมากกว่านายทุนหรือผู้มีอิทธิพลหรือนักการเมือง
               กระบวนการยุติธรรมใช้ระยะเวลานาน ผู้ยากจนไม่มีเงินประกันตัวและต่อสู้คดี

                       ๘. ปัญหาแนวเขตที่ดินของรัฐ พบว่า ผลจากการก าหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐ โดยที่
               มิได้ให้ประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าไปมีส่วนร่วมในการด าเนินงาน ท าให้เกิดปัญหากระทบสิทธิ

               ของประชาชนในด้านที่ดินท ากินและที่อยู่อาศัย มีข้อโต้แย้งอันเนื่องมาจากประชาชนไม่ทราบข้อมูลและ
               ข้อเท็จจริงของหน่วยงานของรัฐที่ก าหนด หน่วยงานของรัฐไม่ทราบถึงความไม่พอใจของประชาชนและ

               ไม่มีการเร่งรัดแก้ไขปัญหา

                       จึงเห็นได้ว่า หากได้ด าเนินการก าหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐ หรือกรณีแก้ไขปัญหา
               ที่เกิดขึ้นจากการก าหนดแนวเขตไว้แล้ว ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนในการก าหนดแนวเขต

               หรือในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จะท าให้รัฐและประชาชนได้ทราบข้อมูลข้อเท็จจริง น ามาประกอบการ
               ตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ท าให้มีการยอมรับไม่มีข้อโต้แย้ง ส่งผลให้ไม่ต้องมีการให้

               แก้ไขปัญหากันอีกในอนาคต
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204