Page 132 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 132

๑๐๕



                   กิโลเมตร ที่เชื่อมต่ออุทยำนได้จัดท ำตำมนโยบำยของกรมสิ่งแวดล้อมเรื่องพื้นที่กันชนในด้ำนกำรพัฒนำ

                   สังคมและกำรเงินเพื่อยกระดับควำมเป็นอยู่โดยกำรแบ่งปันผลประโยชน์ กำรจ ำแนกพื้นที่ได้รวมถึง
                   กำรจัดกำรพื้นที่ตำมแบบดั้งเดิมและยึดหลักของกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติในวนอุทยำน KRUGER ด้วย

                          อุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในปัจจัยของเศรษฐกิจแอฟริกำใต้ กำรจ ำแนกพื้นที่ระหว่ำง

                   จังหวัดต่ำงๆ ของ KRUGER เพื่อส่งเสริมกำรท่องเที่ยวและสร้ำงควำมมั่นใจว่ำคนทุกคนมีสิทธิเท่ำเทียมกัน
                   ในสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ผลประโยชน์ที่ได้จำกอุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยวที่น ำพำควำมเจริญ

                   ด้ำนต่ำงๆ สู่พื้นที่ซึ่งจะส่งผลให้เศรษฐกิจดีขึ้น และลดควำมยำกจนของผู้คนได้ แผนกำรปรับพื้นที่
                   ของ KRUGER ทั้งภำยนอกและภำยในพื้นที่โดยกำรใช้กำรจ ำแนกพื้นที่จึงให้ควำมส ำคัญทั้งเรื่องกำรสร้ำง

                   รำยได้จำกกำรจ ำแนกตำมศักยภำพของพื้นที่ที่สำมำรถพัฒนำให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว และควำมส ำคัญ
                   ในด้ำนกำรอนุรักษ์ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพทำงช่องทำงกำรท ำข้อตกลง กำรบังคับใช้กฎหมำย

                   โดยกำรรวมพื้นที่อนุรักษ์ระหว่ำงประเทศซึ่งเริ่มด ำเนินกำรในศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้สำมำรถกำรยกระดับ
                   ควำมเป็นอยู่ สังคมและเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่


                   (ที่มำ : Revised Zoning System Kruger National Park, 2003)

                          จากการศึกษาถึง ความส าคัญของการจัดท าแนวเขต สภาพปัญหา และอุปสรรคในการ
                   ด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าแนวเขตที่ดิน สรุปผลได้ ดังนี้


                          กำรก ำหนดแนวเขตพื้นที่ โดยวัตถุประสงค์หลักเป็นไปเพื่อให้รู้ขอบเขตส ำหรับกำรแบ่งสันปันส่วน
                   ระหว่ำงกัน  ซึ่งได้ก ำหนดแนวเขตของประเทศ และในประเทศโดยเป็นกำรแบ่งพื้นที่ส ำหรับกิจกำรต่ำงๆ

                   และกำรจับจองอยู่อำศัยท ำกินของรำษฎรในพื้นที่ กำรก ำหนดพื้นที่นอกเหนือจำกค ำบรรยำยสภำพพื้นที่แล้ว
                   กำรจัดท ำแผนที่ประกอบกำรหวงห้ำมก็มีควำมส ำคัญอย่ำงมำก หน่วยงำนของรัฐได้ก ำหนดพื้นที่หวงห้ำม

                   ในแต่ละหน่วยงำนขึ้นตำมรูปแบบต่ำงๆ ปัญหำเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินจึงมีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้นกำรแก้ไขปัญหำ
                   ในเรื่องดังกล่ำว ต้องใช้ทั้งแนวเขตและสภำพข้อเท็จจริงในพื้นที่ที่มีกำรหวงห้ำมเป็นข้อมูลในกำรแก้ไข

                   ปัญหำ

                          กำรประกำศก ำหนดให้เป็นที่ดินของรัฐแบ่งแยกออกตำมวัตถุประสงค์หรือนโยบำยของรัฐได้เป็น
                   2 ประเภท คือ 1) เป็นพื้นที่ที่รัฐมีวัตถุประสงค์ในกำรสงวนเพื่อกำรใช้ประโยชน์ร่วมกันในพื้นที่ ทั้งแก่รัฐ

                   และแก่ประชำชน และ (2) เป็นพื้นที่ที่รัฐมีวัตถุประสงค์ในกำรสงวนเพื่อกำรสงวนรักษำทรัพยำกรธรรมชำติ

                          จำกที่กล่ำวมำในกำรก ำหนดแนวเขตที่ดินของประเทศไทย ให้เป็นพื้นที่สงวนหวงห้ำมของรัฐ

                   ที่ส ำคัญ ได้แก่ ที่สำธำรณสมบัติของแผ่นดินโดยมีหนังสือส ำคัญส ำหรับที่หลวง หรือกำรก ำหนดพื้นที่
                   อนุรักษ์ เช่น ก ำหนดพื้นที่ให้เป็นป่ำสงวนแห่งชำติ เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ เขตห้ำมล่ำสัตว์ป่ำ หรือเขตอุทยำน

                   แห่งชำติ มีกำรก ำหนดกระบวนงำน และขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนออกมำอย่ำงรัดกุมครบถ้วนแล้วก็ตำม หรือ
                   แม้แต่กำรก ำหนดเขตปฏิรูปที่ดินที่เป็นกำรให้สิทธิกับประชำชน ก็ล้วนแต่มีปัญหำกระทบกับสิทธิในที่ดิน

                   ของประชำชนทั้งสิ้น ซึ่งสรุปประเด็นปัญหำได้ ๓ ประกำร ดังนี้
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137