Page 130 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 130
๑๐๓
3.๕.๓ การแก้ไขปัญหาในเขตอุทยานแห่งชาติโดยใช้ระบบการบริหารจัดการ
ตามศักยภาพของพื้นที่ในต่างประเทศ
การบริหารจัดการพื้นที่ในเขตอุทยานแห่งชาติของแอฟริกาใต้ (SANParks)
กำรบริหำรจัดกำรพื้นที่อุทยำนในแอฟริกำใต้สะท้อนภำพกำรคิดทบทวนกำรจัดหรือจ ำแนก พื้นที่
อุทยำนครูเกอร์ (KRUGER) ในอดีตเป็นพื้นที่ที่มีปัญหำซับซ้อน กำรบริหำรจัดกำรอุทยำนครูเกอร์
ในปัจจุบันด ำเนินกำรตำมกำรจัดกำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ให้ควำมส ำคัญทั้งในแง่ควำมจ ำเป็นของกำรสงวน
ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ Biodiversity กำรหำรำยได้เพื่อกำรยกฐำนะของเศรษฐกิจชุมชน กำรปรับ
สมดุลของดิน โดยกำรเสนอให้ Greater Lebombo Conservancy (GLC) เป็นพื้นที่กันชนของโมซัมบิก
ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีโอกำสพัฒนำให้เป็นเหล่งท่องเที่ยว เนื่องจำกกำรคมนำคมที่สะดวกขึ้นในพื้นที่ดังกล่ำว
กำรพัฒนำสภำพเศรษฐกิจตำมแผนกำรปรับพื้นที่ให้พื้นที่ป่ำที่อยู่ติดเขตถูกตัดออกเพื่อปรับทิวทัศน์และ
ป้องกันกำรรบกวนต่ำงๆ กำรปรับปรุงพื้นที่ท่องเที่ยว GLC ซึ่งเป็นพื้นที่ด้ำนทิศใต้ของครูเกอร์ที่เชื่อมต่อ
ระหว่ำง จังหวัดลิมโปโปและมปูมำลังกำ กำรพัฒนำภำยในพื้นที่ชำยขอบของมำปูโต โดยพิจำรณำ
ตำมสภำพควำมเป็นจริงของพื้นที่ที่ตั้งอยู่บนกระแสน้ ำที่สำมำรถพัฒนำแหล่งท่องเที่ยวทำงน้ ำที่เชื่อมต่อ
ครูเกอร์ สวำซิแลนด์ และมำปูโต ซึ่งขณะนี้เป็นพื้นที่ที่ได้รับควำมนิยมจำกนักท่องเที่ยวอย่ำงมำก
กำรบริหำรจัดกำรดังกล่ำวให้ควำมส ำคัญทั้งในเรื่องกำรรองรับสิทธิในที่ดินของชุมชน กำรปรับแผน
เศรษฐกิจในกำรจัดกำรพื้นที่ครูเกอร์ตำมศักยภำพของพื้นที่นั้น ด ำเนินกำรทั้งเรื่องกำรใช้ทรัพยำกร
เพื่อรองรับกำรท่องเที่ยวด้วยกำรอ ำนวยควำมสะดวกด้ำนต่ำงๆ ซึ่งเป็นกำรให้โอกำสชุมชนในกำรแบ่งปัน
ผลประโยชน์ ควบคู่ไปกับกำรอนุรักษ์โดยกำรท ำถนนเพื่อเป็นเขตกันชน ก ำหนดจุดตั้งแคมป์ กำรก ำหนด
ทำงเข้ำในบริเวณขอบเขตที่จ ำแนกส ำหรับกำรพัฒนำ กำรก ำหนดพื้นที่และวิธีกำรเพื่อป้องกันภัยคุกคำม
จำกแรดและช้ำงป่ำในสัดส่วนที่เหมำะสม
กำรจ ำแนกพื้นที่ของอุทยำนแห่งชำติ KRUGER ตำมแผนกำรบริหำรจัดกำรพื้นที่สิ่งแวดล้อม
แห่งชำติ ACT 57 ค.ศ. 2003 (ACT คือ กฎหมำย หรือพระรำชบัญญัติ หรือกำรกระท ำ) ซึ่งระบุให้
อ ำนำจกำรบริหำรจัดกำรพื้นที่ อำจจะเปลี่ยนจำกแผนกำรบริหำรจัดกำรที่ก ำหนดไว้โดยข้อตกลงระหว่ำง
รัฐมนตรี โดยอ ำนำจในกำรบริหำรจัดกำรรวมถึงกำรจ ำแนกพื้นที่กำรใช้ประโยชน์ในแต่ละพื้นที่ซึ่งต้อง
เป็นไปตำมจุดประสงค์ของพื้นที่แต่ละส่วนในเขต ZONE ที่จะด ำเนินกำรในหลำยๆ เขตด้วย ซึ่งแตกต่ำง
จำกแผนเดิมที่มุ่งเน้นเฉพำะเรื่องกำรอนุรักษ์ (สิ่งมีชีวิตหลำกหลำย) รวมทั้งสิ่งมีชีวิตต่ำงๆ ในเขตอุทยำน
แห่งชำติให้คงอยู่ได้เพียงอย่ำงเดียว
กำรให้นิยำมของแต่ละพื้นที่ตำม Venter (ต้นไม้และสัตว์คล้ำยคลึงกัน) เมื่อ ค.ศ. 1990
กำรจ ำแนกเขตใน KRUGER ค ำนึงถึงต้นไม้และสัตว์คล้ำยคลึงกับกำรจ ำแนกของ Joubert ใน ค.ศ.
1986 ที่เน้นกำรจ ำแนกพื้นที่ป่ำตำมสภำพพื้นที่ตำมค ำนิยำมโดย DR.GERTENBACH จะเห็นได้ว่ำกำร
จ ำแนกพื้นที่อุทยำนแห่งชำติ KRUGER ที่ผ่ำนมำให้ควำมส ำคัญในเรื่องระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในเขตของ
KRUGER กำรปรับเปลี่ยนในเรื่องกำรจ ำแนกพื้นที่หรือก ำหนดให้เป็นเขตสันทนำกำรตำมแบบ Venter
และในปี ค.ศ. 1997 ในรูปแบบโครงกำรเพื่อสร้ำงระบบกำรท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จะถูกน ำมำใช้