Page 129 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 129

๑๐๒



               กำรก ำหนดแนวเขตดังกล่ำวที่ล้ำสมัยแต่ยังมีกำรใช้อยู่ในปัจจุบัน อีกทั้งได้มีวิวัฒนำกำรระบบแผนที่

               ที่สำมำรถรู้จุดพิกัดได้ในพื้นที่จริง ก็ยังมิได้น ำมำด ำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงในส่วนที่ด ำเนินกำรไปแล้ว

                              (๓) ควำมล่ำช้ำในกำรก ำหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้ำมของรัฐ โดยจะเห็นได้ว่ำ
               ตำมขั้นตอนกระบวนงำนที่ก ำหนด ที่เริ่มต้นจำกกำรส ำรวจข้อมูลในพื้นที่เบื้องต้น น ำมำพิจำรณำส่งให้

               คณะรัฐมนตรี และส ำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำพิจำรณำ จนถึงประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
               ในแต่ละพื้นที่จะใช้ระยะเวลำนำนมำก ตั้งแต่ ๑ - ๕ ปี แล้วแต่กรณีที่พบปัญหำกำรด ำเนินงำน ท ำให้

               ชุมชนได้ขยำยตัวเพิ่มขึ้นไม่เป็นไปตำมข้อเท็จจริง ณ ปัจจุบันที่ประกำศใช้


                       3.๕.๒ แนวทางการแก้ไขปัญหาการก าหนดแนวเขตที่ดินของประเทศไทยที่ผ่านมา


                              ๑) เร่งรัดกำรรังวัดท ำแผนที่แนวเขตของรัฐที่ใช้กำรบรรยำยหรือใช้แผนที่สังเขปในกำร

               ก ำหนดพื้นที่  เพื่อกำรหวงห้ำมให้ด ำเนินกำรในเรื่องกำรรังวัดท ำแผนที่ตำมมำตรฐำนที่คณะกรรมกำร
               ก ำหนดมำตรฐำนระวำงแผนที่และแผนที่รูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ (กมร.) ก ำหนดตำมแนวเขตที่ผ่ำน
               กำรตกลงร่วมกันแล้วของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ดังกล่ำวในรูปคณะท ำงำนเพื่อให้สำมำรถด ำเนินกำร

               ได้โดยไม่มีข้อโต้แย้ง

                              ๒) พื้นที่ที่มีกำรหวงห้ำมตำมแผนที่แนบท้ำยกฎหมำยต้องด ำเนินกำรตรวจสอบแนวเขต

               ด้วยวิธีกำรรังวัดท ำแผนที่ตำมมำตรฐำนที่ กมร.ก ำหนด โดยรังวัดแนวเขตจำกข้อมูลผลกำรรังวัดเดิมที่มี
               ทั้งหมดบริเวณใดที่มีปัญหำต้องก ำหนดให้มีกำรพิจำรณำร่วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภำยใต้ข้อมูล

               ตำมควำมเป็นจริงให้ได้ข้อยุติก่อนท ำกำรรังวัด หำกปรำกฏว่ำแนวเขตที่ท ำกำรรังวัดใหม่ไม่สอดคล้องกับ
               แผนที่ท้ำยกฎหมำย ให้ด ำเนินกำรเพิกถอนและประกำศพื้นที่หวงห้ำมตำมแนวเขตที่มีกำรรังวัดใหม่


                              ๓) กรณีพื้นที่ทับซ้อนให้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกำรรังวัดท ำแผนที่ ประวัติและเหตุผล
               ในกำรประกำศพื้นที่ หำกปรำกฏว่ำต้องมีกำรรังวัดท ำแผนที่ใหม่เพื่อให้ตรวจสอบได้ให้ด ำเนินกำร
               ตำมมำตรฐำนที่ กมร. ก ำหนด


                              ๔) กำรเพิ่มเติมแก้ไขระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยมำตรฐำนระวำงแผนที่และ
               แผนที่รูปแปลงที่ดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๐ หรือกำรยกฐำนะให้เป็นพระรำชบัญญัติเพื่อให้สำมำรถก ำหนด

               กรอบอ ำนำจหน้ำที่ อัตรำก ำลัง งบประมำณ และบทลงโทษ ซึ่งจะท ำให้กำรปฏิบัติหน้ำที่มีควำมชัดเจน
               มีสภำพบังคับใช้ได้ดีกว่ำระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรี โดยในเรื่องอ ำนำจหน้ำที่บัญญัติให้สำมำรถ

               ตรวจสอบและพิจำรณำรับรองหรือสั่งให้แก้ไขผลกำรรังวัดท ำแผนที่ของทุกหน่วยงำนที่มีหน้ำที่ในส่วน
               ที่เกี่ยวข้องกับกำรรังวัดได้ เช่น กำรตรวจสอบและพิจำรณำควำมถูกต้องของแผนที่ในกรณีที่มีกำรประกำศ

               พื้นที่ทับซ้อน กำรตรวจสอบและให้ค ำรับรองผลกำรรังวัดเพื่อจัดท ำแผนที่แนบท้ำยกฎหมำย ซึ่งเมื่อให้
               ค ำรับรองแล้วคณะกรรมกำรกฤษฎีกำไม่ต้องพิจำรณำในส่วนนี้อีก เนื่องจำกกระบวนกำรด ำเนินกำรจะต้อง

               ผ่ำนคณะกรรมกำรที่มีควำมเชี่ยวชำญในด้ำนกำรรังวัดท ำแผนที่ ซึ่งจะท ำให้กระบวนกำรในกำรประกำศ
               พื้นที่หวงห้ำมหรือกำรปรับปรุงแผนที่ในพื้นที่ที่หวงห้ำมตำมที่กฎหมำยก ำหนดสำมำรถด ำเนินกำร

               ได้อย่ำงรวดเร็วยิ่งขึ้น
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134