Page 49 - สิทธิในกระบวนการยุติธรรมและสิทธิของบุคคลในเกียรติยศและชื่อเสียง กรณีการนำตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปนำชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพและการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
P. 49

ม�ตร� ๓๙  บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทำาการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่
                 กระทำานั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำาหนดโทษไว้  และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นหนักกว่าโทษที่กำาหนด

                 ไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำาความผิดมิได้

                           ในคดีอาญา ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจำาเลยไม่มีความผิด
                           ก่อนมีคำาพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำาความผิด  จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้น
                 เสมือนผู้กระทำาความผิดมิได้

                           ม�ตร� ๔๐  บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังต่อไปนี้

                           (๔) ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา โจทก์ จำาเลย คู่กรณี ผู้มีส่วนได้เสีย หรือพยานในคดีมีสิทธิได้รับ
                 การปฏิบัติที่เหมาะสมในการดำาเนินการตามกระบวนการยุติธรรม  รวมทั้งสิทธิในการได้รับการสอบสวน
                 อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม และการไม่ให้ถ้อยคำาเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเอง


                       ๔.๒ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                           ม�ตร� ๘๔ วรรคท้�ย  ถ้อยคำาใดๆ ที่ผู้ถูกจับให้ไว้ต่อเจ้าพนักงานผู้จับ หรือพนักงานฝ่าย
                 ปกครองหรือตำารวจในชั้นจับกุมหรือรับมอบตัวผู้ถูกจับ ถ้าถ้อยคำานั้นเป็นคำารับสารภาพของผู้ถูกจับ

                 ว่าตนได้กระทำาความผิดห้ามมิให้รับฟังเป็นพยานหลักฐาน  แต่ถ้าเป็นถ้อยคำาอื่น จะรับฟังเป็นพยาน
                 หลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผู้ถูกจับได้ต่อเมื่อได้มีการแจ้งสิทธิตามวรรคหนึ่ง หรือตามมาตรา ๘๓

                 วรรคสอง แก่ผู้ถูกจับแล้วแต่กรณี
                           ม�ตร� ๘๖  ห้ามมิให้ใช้วิธีการควบคุมผู้ถูกจับเกินกว่าที่จำาเป็นเพื่อป้องกันมิให้เขาหนีเท่านั้น

                           ม�ตร� ๑๓๑  ให้พนักงานสอบสวนรวบรวมหลักฐานทุกชนิด เท่าที่สามารถจะทำาได้เพื่อ
                 ประสงค์จะทราบข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ต่างๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกล่าวหา เพื่อจะรู้ตัว

                 ผู้กระทำาผิดและพิสูจน์ให้เห็นความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหา
                           ม�ตร� ๑๓๒  เพื่อประโยชน์แห่งการรวบรวมหลักฐาน  ให้พนักงานสอบสวนมีอำานาจ

                 ดังต่อไปนี้
                           (๑)  ตรวจตัวผู้เสียหายเมื่อผู้นั้นยินยอม หรือตรวจตัวผู้ต้องหา หรือตรวจสิ่งของหรือที่ทาง

                 อันสามารถอาจใช้เป็นพยานหลักฐานได้ ให้รวมทั้งทำาภาพถ่าย แผนที่ หรือภาพวาดจำาลอง หรือพิมพ์
                 ลายนิ้วมือ ลายมือหรือลายเท้า กับให้บันทึกรายละเอียดทั้งหลายซึ่งน่าจะกระทำาให้คดีแจ่มกระจ่างขึ้น

                           ...
                           ม�ตร� ๑๓๔/๔  ในการถามคำาให้การผู้ต้องหา ให้พนักงานสอบสวนแจ้งให้ผู้ต้องหาทราบ

                 ก่อนว่า
                           (๑)  ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะให้การหรือไม่ก็ได้ ถ้าผู้ต้องหาให้การ ถ้อยคำาที่ผู้ต้องหาให้การนั้น

                 อาจใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้
                           (๒)  ผู้ต้องหามีสิทธิให้ทนายความหรือผู้ซึ่งตนไว้วางใจเข้าฟังการสอบปากคำาตนได้

                           เมื่อผู้ต้องหาเต็มใจให้การอย่างใดก็ให้จดคำาให้การไว้  ถ้าผู้ต้องหาไม่เต็มใจให้การเลยก็ให้
                 บันทึกไว้



            48

            สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิของบุคคลในเกียรติยศและชื่อเสียง
            กรณีการนำาตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปนำาชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำารับสารภาพ และการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54