Page 50 - สิทธิในกระบวนการยุติธรรมและสิทธิของบุคคลในเกียรติยศและชื่อเสียง กรณีการนำตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปนำชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพและการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
P. 50

ถ้อยคำาใดๆ ที่ผู้ต้องหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิตามวรรคหนึ่ง หรือก่อน
                    ที่จะดำาเนินการตามมาตรา ๑๓๔/๑  มาตรา ๑๓๔/๒  และมาตรา ๑๓๔/๓  จะรับฟังเป็นพยานหลักฐาน

                    ในการพิสูจน์ความผิดของผู้นั้นไม่ได้
                              ม�ตร� ๒๒๖  พยานวัตถุ พยานเอกสาร หรือพยานบุคคลซึ่งน่าจะพิสูจน์ได้ว่าจำาเลยมีผิด

                    หรือบริสุทธิ์ ให้อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ แต่ต้องเป็นพยานชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคำามั่น
                    สัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น  และให้สืบตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้

                    หรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสืบพยาน
                              ม�ตร� ๒๒๖/๑  ในกรณีที่ความปรากฏแก่ศาลว่า พยานหลักฐานใดเป็นพยานหลักฐานที่

                    เกิดขึ้นโดยชอบแต่ได้มาเนื่องจากการกระทำาโดยมิชอบ หรือเป็นพยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูล
                    ที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดยมิชอบ  ห้ามมิให้ศาลรับฟังพยานหลักฐานนั้น เว้นแต่การรับฟังพยานหลักฐาน

                    นั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการอำานวยความยุติธรรมมากกว่าผลเสียอันเกิดจากผลกระทบต่อมาตรฐาน
                    ของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน

                              ในการใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานตามวรรคหนึ่ง  ให้ศาลพิจารณาถึงพฤติการณ์ทั้งปวง
                    แห่งคดี โดยต้องคำานึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ด้วย

                              (๑)  คุณค่าในเชิงพิสูจน์ ความสำาคัญ และความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานนั้น
                              (๒)  พฤติการณ์และความร้ายแรงของความผิดในคดี

                              (๓)  ลักษณะและความเสียหายที่เกิดจากการกระทำาโดยมิชอบ
                              (๔)  ผู้ที่กระทำาการโดยมิชอบอันเป็นเหตุให้ได้พยานหลักฐานมานั้นได้รับการลงโทษหรือไม่

                    เพียงใด
                              ม�ตร� ๒๒๖/๒  ห้ามมิให้ศาลรับฟังพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับการกระทำาความผิดครั้งอื่นๆ

                    หรือความประพฤติในทางเสื่อมเสียของจำาเลย เพื่อพิสูจน์ว่าจำาเลยเป็นผู้กระทำาความผิดในคดีที่ถูกฟ้อง
                    เว้นแต่พยานหลักฐานอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

                              (๑)  พยานหลักฐานที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับองค์ประกอบความผิดของคดีที่ฟ้อง
                              (๒)  พยานหลักฐานที่แสดงถึงลักษณะ วิธี หรือรูปแบบเฉพาะในการกระทำาความผิดของ

                    จำาเลย
                              (๓)  พยานหลักฐานที่หักล้างข้อกล่าวอ้างของจำาเลยถึงการกระทำา หรือความประพฤติใน

                    ส่วนดีของจำาเลย
                              ความในวรรคหนึ่งไม่ห้ามการนำาสืบพยานหลักฐานดังกล่าว เพื่อให้ศาลใช้ประกอบดุลพินิจ

                    ในการกำาหนดโทษหรือเพิ่มโทษ
                              ม�ตร� ๒๒๗  ให้ศาลใช้ดุลพินิจวินิจฉัยชั่งน้ำาหนักพยานหลักฐานทั้งปวง อย่าพิพากษาลงโทษ

                    จนกว่าจะแน่ใจว่ามีการกระทำาความผิดจริงและจำาเลยเป็นผู้กระทำาความผิดนั้น
                              เมื่อมีความสงสัยตามสมควรว่าจำาเลยได้กระทำาผิดหรือไม่ ให้ยกประโยชน์แห่งความสงสัยนั้น

                    ให้จำาเลย




                                                                                                          49

                                                                       สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิของบุคคลในเกียรติยศและชื่อเสียง
                                                      กรณีการนำาตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปนำาชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำารับสารภาพ และการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55