Page 52 - สิทธิในกระบวนการยุติธรรมและสิทธิของบุคคลในเกียรติยศและชื่อเสียง กรณีการนำตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปนำชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพและการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
P. 52

๓)  ลักษณะที่ ๓๐ ข้อ ๕ กำ�หนดเรื่องก�รนำ�ตัวผู้ต้องห�ม�แถลงข่�วต่อสื่อมวลชน ดังนี้

                                  ๑.  ในการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนไม่ว่ากรณีใด ให้ผู้มีอำานาจแถลงข่าวถือปฏิบัติตาม
                    ประมวลระเบียบการตำารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๒๙ บทที่ ๑ ข้อ ๑ (๒)

                                  ๒.  ไม่ควรนำาตัวผู้ต้องหามาแถลงข่าวหรือแพร่ภาพต่อสื่อมวลชน  โดยเฉพาะ
                    ผู้ต้องหาที่ให้การปฏิเสธ  เว้นแต่กรณีผู้ต้องหาให้การปฏิเสธแต่คดีมีพยานหลักฐานของกลางน่าเชื่อถือ

                    ว่าผู้ต้องหากระทำาผิดจริง เช่น คดียาเสพติด  ส่วนกรณีผู้ต้องหาให้การรับสารภาพอาจจะนำามา
                    แถลงข่าวได้หากเกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนหรือต่อทางราชการ  ทั้งนี้  ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้มีอำานาจ

                    แถลงข่าวและจะต้องถือปฏิบัติตามประมวลระเบียบการตำารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๐ ข้อ ๑ (ค)
                    โดยเคร่งครัด

                                  ๓.  ห้ามมิให้ทำาป้ายชื่อแขวนคอผู้ต้องหาแล้วนำาออกมาแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนหรือ
                    แพร่ภาพ นอกจากเป็นการกระทำาตามอำานาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวน หรือกองทะเบียนประวัติ

                    อาชญากรเพื่อถ่ายรูปเก็บรวบรวมในสมุดภาพแฟ้มประวัติคนร้ายเท่านั้น


                          ๔.๔ คำาสั่งสำานักงานตำารวจแห่งชาติ ที่ ๘๕๕/๒๕๔๘  เรื่อง การปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ข่าว
                    การแถลงข่าว การให้สัมภาษณ์ การเผยแพร่ภาพต่อสื่อมวลชน และการจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์

                    (สั่ง ณ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘)
                              ด้วยสำานักงานตำารวจแห่งชาติมีนโยบายที่จะกำาหนดแนวทางการปฏิบัติในการให้ข่าว

                    การแถลงข่าว การให้สัมภาษณ์ การเผยแพร่ภาพต่อสื่อมวลชน การจัดทำาสื่อประชาสัมพันธ์ การอนุญาต
                    ให้ใช้สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ หรือยานพาหนะในการถ่ายทำาภาพยนตร์ ละคร โฆษณา หรือบันทึก

                    ภาพนิ่ง ให้ทุกหน่วยงาน และข้าราชการตำารวจมีมาตรฐานการปฏิบัติเช่นเดียวกัน เพื่อให้ประชาชน
                    ได้รับรู้ผลการปฏิบัติงานของสำานักงานตำารวจแห่งชาติได้อย่างถูกต้องตรงกัน ธำารงไว้ซึ่งภาพลักษณ์

                    ที่ดี สร้างความเชื่อมั่น และเชื่อถือศรัทธาแก่ประชาชนในการให้ความร่วมมือกับข้าราชการตำารวจ
                    และสำานักงานตำารวจแห่งชาติ

                              ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์
                    ปัจจุบัน จึงให้ปฏิบัติ ดังนี้


                              ๑.  ก�รให้ข่�ว แถลงข่�ว และให้สัมภ�ษณ์สื่อมวลชน
                                 ๑.๑  ผู้มีอำานาจหน้าที่ในการให้ข่าว แถลงข่าว และให้สัมภาษณ์

                                      ๑.๑.๑  ให้หัวหน้าหน่วยงานระดับสถานีตำารวจ แผนก งาน หรือผู้ที่ได้รับ
                    มอบหมายเฉพาะ และผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเป็นผู้มีอำานาจหน้าที่ในการให้ข่าว แถลงข่าว หรือให้

                    สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนทุกแขนง เฉพาะงานในหน้าที่รับผิดชอบหรือที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น
                                            กรณีที่ปรากฏมีข่าวในทางลบเกี่ยวกับหน่วยงานใด ให้เป็นดุลพินิจของ

                    ผู้มีหน้าที่ตามวรรคแรกเท่านั้นเป็นผู้พิจารณารายงานชี้แจงหรือชี้แจงข่าว ซึ่งรวมถึงการให้สัมภาษณ์
                    หรือการไปร่วมรายการวิทยุหรือโทรทัศน์หรือการชี้แจงสื่ออื่นๆ ด้วย




                                                                                                          51

                                                                       สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิของบุคคลในเกียรติยศและชื่อเสียง
                                                      กรณีการนำาตัวผู้ต้องหาในคดีอาญาไปนำาชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำารับสารภาพ และการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57