Page 74 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 74
4.4 แนวทางปฏิบัติงานด้านสืบหาข้อเท็จจริงและข้อสรุป (investigation)
การสืบสวนข้อกล่าวหาและสถานการณ์ที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นการท�างานพื้นฐานของสถาบันสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างยิ่งในการพิจารณาสถานการณ์ดังกล่าว
การตรวจสอบเป็นกระบวนการที่เป็นกลาง สถาบันฯ จะต้องไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทั้งผู้ร้องเรียนหรือผู้ถูกร้องเรียน
โดยเน้นการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการค้นหาวิธีการเข้าถึงการตัดสินเกี่ยวกับ
สิ่งที่เกิดขึ้นจริง และการค้นหาข้อกล่าวหาต่าง ๆ อย่างเต็มความสามารถ
การตรวจสอบโดยทั่วไปจะเริ่มต้นด้วยข้อกล่าวหาที่เกิดการกระท�าหรือละเลยการท�าเหตุเฉพาะ หรือข้อกล่าวหาที่
มีระดับความเสี่ยงสูง วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบใด ๆ ก็ตามจะต้องตอบค�าถามดังนี้
มีการละเมิดกฎหมายสิทธิมนุษยชนที่อยู่ภายใต้อ�านาจของสถาบันฯ หรือพันธกรณีระหว่างประเทศ
ที่ได้ตกลงไว้หรือไม่
มีบุคคลหรือหน่วยงานใดเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการละเมิดนั้น ๆ หรือไม่
การตรวจสอบท�าได้โดยการรวบรวมหลักฐานทางกายภาพ ค�าให้การ และหลักฐานทางเอกสาร โดยการ
วิจัยและการประเมินหลักฐาน หลักการปารีสต้องการให้สถาบันควรมีการเข้าถึงเอกสารและบุคคลทั้งหมด
ที่จ�าเป็นส�าหรับการตรวจสอบ โดยอ�านาจเหล่านี้ควรมีการก�าหนดไว้อย่างชัดเจนและยึดตามหลักกฎหมาย
ซึ่งอ�านาจดังกล่าวประกอบไปด้วย
1 2 3 4
อ�านาจในการให้ อ�านาจในการตรวจสอบ อ�านาจในการเรียกคู่กรณี อ�านาจในการรับฟังและตั้งค�าถาม
บุคคลและหน่วยงานที่ พฤติการณ์เท่าที่จ�าเป็น มาให้ข้อเท็จจริง กับแต่ละบุคคล (รวมถึงผู้เชี่ยวชาญ
เกี่ยวข้องวัตถุ เอกสาร รวมถึงอ�านาจในการ และผู้แทนหน่วยงานภาครัฐและ
และพยานหลักฐานอื่น เข้าเยี่ยมสถานที่คุมขัง เอกชน) ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับ
ที่เกี่ยวข้องมาประกอบ เป็นต้น ปัญหาที่ก�าลังการสอบสวน หรือ
การพิจารณา อยู่ในต�าแหน่งอื่นที่สามารถ
ช่วยเหลือการสอบสวนได้
73
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ