Page 68 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 68
4.2.3 อ�านาจในการตรวจสอบและเสนอมาตรการ
การแก้ไขกรณีที่มีการกระท�า หรือการละเลยการกระท�า
อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้น สามารถท�าได้
หากไม่ขัดกับข้อจ�ากัดตามบทบัญญัติภายในประเทศ
เช่น สามารถตรวจสอบได้ หากมิใช่เป็นเรื่องที่มีการ
ฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาล หรือที่ศาลพิพากษาหรือมี
ค�าสั่งเด็ดขาดแล้ว เป็นต้น
เมื่อสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้มีค�าสั่งให้รับพิจารณา และ/หรือ การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนที่
ถูกกล่าวหาว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ควรจะมีอ�านาจเพียงพอที่จะปฏิบัติตามค�าสั่งนี้
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติซึ่งอาจหมายถึงอ�านาจและหน้าที่กึ่งตุลาการ (quasi-judicial) ดังต่อไปนี้
ความสามารถในการรับข้อร้องเรียนต่อทั้งภาครัฐและเอกชน และหน่วยงานส่วนอื่น ๆ ในอ�านาจ
หน้าที่ของตน
ความสามารถในการรับข้อร้องเรียนที่ยื่นโดยกลุ่มบุคคลในนามของผู้ร้องเรียน
ความสามารถในการหยิบยกข้อร้องเรียนเกี่ยวกับโครงการหรือประเด็นของตน
ความสามารถในการตรวจสอบข้อร้องเรียน รวมทั้งอ�านาจในการเรียกหลักฐาน พยาน และ
เข้าเยี่ยมสถานที่ที่มีการลิดรอนเสรีภาพ
ความสามารถในการคุ้มครองผู้ร้องเรียน
ความสามารถในการคุ้มครองพยาน ส�าหรับการให้หลักฐานเกี่ยวข้องกับข้อร้องเรียน
ความสามารถในการสร้างความปรองดอง การไกล่เกลี่ย การประนีประนอม และการจัดท�า
ข้อสัญญาที่เป็นความลับในกระบวนการระงับข้อพิพาทที่หลากหลาย
ความสามารถในการจัดการข้อร้องเรียน
ความสามารถในอ้างถึงผลการวิจัย/วินิจฉัยของศาลยุติธรรมหรือศาลเฉพาะเพื่อพิจารณา
ความสามารถในการติดตามและตรวจสอบการด�าเนินงานในการตัดสินแก้ไขข้อร้องเรียน
ความสามารถในการอ้างถึงเอกสารหรือผลการวิจัยของหน่วยงานรัฐในสถานการณ์ที่ผู้ร้องเรียน
มีหลักฐานอย่างกว้างขวางหรือการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ
67
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ