Page 66 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 66
4.1 มาตรฐานในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ตามมาตรฐานแล้วสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสามารถที่จะก�าหนดประเด็นที่จะคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเองได้ตาม
สถานการณ์ที่น่าสนใจในเวลานั้น ๆ หรืออาจคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากการจัดการกับข้อร้องเรียนของบุคคลหรือหน่วยงานอื่น
หากมีอ�านาจกึ่งตุลาการตามที่กฎหมายก�าหนด โดยในการจัดการกับข้อร้องเรียนนั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต้องพัฒนา
แนวทางและหลักเกณฑ์ในการรับข้อร้องเรียน โดยเปิดเผยให้ประชาชนทราบอย่างโปร่งใสและเข้าถึงง่าย ทั้งนี้ หลักเกณฑ์
ดังกล่าวจะช่วยให้เจ้าหน้าที่สามารถตัดสินใจรับหรือไม่รับเรื่องร้องเรียนได้หากเป็นเรื่องที่ชัดเจนและไม่ยุ่งยากซับซ้อนมาก
อันจะเป็นการอ�านวยความสะดวกและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ร้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรให้ความส�าคัญกับกระบวนการไกล่เกลี่ยและระงับข้อพิพาท
ก่อนจะด�าเนินการตรวจสอบข้อร้องเรียน เนื่องจากจะช่วยให้การท�างานคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เยียวยาแก่ผู้ร้องเรียนได้อย่างรวดเร็ว และลดเวลาการท�างานของเจ้าหน้าที่
ไกล่เกลี่ยและ อย่างไรก็ดี กระบวนการนี้ต้องด�าเนินการโดยเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกอบรม และต้องเป็นกรณีที่ไม่
ระงับข้อพิพาท
ร้ายแรงหรือมีผลกระทบในวงกว้าง
การตรวจสอบข้อร้องเรียนที่รับเรื่องแล้วจะต้องด�าเนินการโดยเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกอบรมแล้ว
เท่านั้น และต้องท�าไปเพื่อให้ได้ผลการวินิจฉัยว่าเรื่องที่ร้องเรียนดังกล่าวเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
หรือไม่เท่านั้น มิใช่การสืบสวนหรือสอบสวนเพื่อลงโทษผู้กระท�าความผิดตามกระบวนการยุติธรรม
อันจะเป็นการซ�้าซ้อนกับหน้าที่ของฝ่ายตุลาการ ด�าเนินการ
หากมีการสัมภาษณ์หรือเก็บข้อมูลจากผู้เกี่ยวข้องกับข้อร้องเรียนจะต้องท�าด้วยการวางแผน
ล่วงหน้าอย่างมีโครงสร้างและมีวัตถุประสงค์ในการหาข้อมูล ทั้งนี้ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ต้องท�าให้มั่นใจว่ากระบวนการทั้งหมดต้องท�าโดยค�านึงถึงความปลอดภัยและการรักษาความลับของ
การวางแผน ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจสอบจะต้องถูกน�าไปสู่กระบวนการวินิจฉัยโดยเร็ว เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
ผู้ร้องเรียน โดยหากผลการวินิจฉัยเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทางสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อาจมีข้อเสนอแนะที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาหรือเยียวยาแก่บุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้หากสมควร สถาบันฯ อาจก�าหนดให้บุคคลหรือหน่วยงานด�าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อ การวินิจฉัย
ป้องกันมิให้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในท�านองเดียวกันนี้อีก
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรติดตามการด�าเนินการแก้ไขการการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ของบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง แล้วรายงานแก่นายกรัฐมนตรี
ติดตามการ หรือรัฐสภาตามแนวทางที่กฎหมายก�าหนดไว้ ทั้งนี้ หากสมควร ควรมีการเผยแพร่กรณีที่ไม่มีการ
ด�าเนินการ ด�าเนินการตามมาตรการการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนให้สาธารณชนทราบด้วย
65
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ