Page 109 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 109
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจน�าผลการศึกษาวิจัย ผลการตั้งค�าถามต่อสาธารณะ ผลการสัมมนาหรือผลการประชุม
เชิงปฏิบัติการระดับชาติ ผลการวิจัยเชิงประยุกต์ หรือผลการศึกษาที่เกี่ยวข้อง และรายงานต่าง ๆ มาเผยแพร่เพื่อสนับสนุน
ข้อเสนอแนะของตน
การสร้างความร่วมมือกับภาคประชาสังคมเป็นสิ่งที่จ�าเป็นอย่างยิ่งในขั้นตอนการทบทวนเพื่อจัดท�าข้อเสนอแนะ
เนื่องจากเป็นการท�าให้แน่ใจว่าสถาบันฯ ได้รับมุมมองที่หลากหลายนี้มาใช้ประกอบในการด�าเนินการ นอกจากนั้น ในบาง
กรณียังอาจได้รับประโยชน์จากมุมมองของผู้เชี่ยวชาญและองค์การเอกชนซึ่งเคยมีประสบการณ์ในเรื่องที่คล้ายคลึงกันนี้
มาก่อนด้วย
การให้ข้อเสนอแนะเป็นเพียงการท�างานในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรเฝ้าระวัง
และติดตามว่ามีกระบวนการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะของตนหรือไม่ ผ่านกิจกรรมดังต่อไปนี้
1 2 3 4
การจัดท�ารายงานประจ�าปี การเฝ้าระวัง การโน้มน้าว (lobbying) ให้รัฐบาล การออกข่าวประชาสัมพันธ์
และรายงานเฉพาะ มีการปรับเปลี่ยน รวมถึงการ และการแถลงข่าว
ออกกฎหมายใหม่ และการแก้ไข
กฎหมายหรือนโยบายเดิมที่มีอยู่
การทบทวนกฎหมาย นโยบาย
และแนวทางปฏิบัติที่ถูกน�าเสนอ
แม้ว่ากฎหมายจะไม่ได้ระบุถึงอ�านาจที่ชัดเจนของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการแสดงความคิดเห็นต่อกฎหมายที่
ถูกเสนอ แต่สถาบันฯ ก็สามารถที่จะใช้อ�านาจทั่วไปในการให้ค�าปรึกษาแก่รัฐบาลก่อนการน�าเสนอกฎหมายใหม่ และ/หรือ
การริเริ่มนโยบายต่าง ๆ โดยมีเหตุผล ดังนี้
• การเปลี่ยนร่างกฎหมาย เป็นเรื่องง่ายกว่าการยกเลิกหรือการขอแก้ไขกฎหมายที่ผ่านการอนุมัติแล้ว
• การมีกฎหมาย นโยบาย และแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องตั้งแต่แรก จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาใน
ภายหลัง เช่น การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือการด�าเนินการโดยศาลภายหลังการตรวจสอบ
พบข้อเท็จจริง ฯลฯ
• การแทรกแซงในขั้นตอนการจัดท�าร่างกฎหมายจะช่วยส่งเสริมให้เกิดการอภิปรายอย่างแพร่หลาย
ซึ่งจะเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบหรือเสียประโยชน์จากกฎหมายนี้ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง
ของการอภิปราย
• ท�าให้รัฐบาลรับรู้ถึงจุดยืนของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และพิจารณาข้อเสนอแนะ
ของสถาบันฯ อย่างรอบคอบ
108
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ