Page 111 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 111
เป้าหมายในระยะสั้น คือเพื่อให้แน่ใจว่าสิทธิที่ได้รับการยอมรับใน
ตราสารระหว่างประเทศจะสามารถระบุไว้ในกฎหมาย กฎ ระเบียบ
และแนวทางปฏิบัติแห่งชาติ ทั้งนี้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรให้
ค�าแนะน�าและความช่วยเหลือต่อรัฐบาลในการด�าเนินงานตามมาตรฐาน
ระหว่างประเทศ ซึ่งจะแตกต่างกันตามลักษณะของกฎหมายที่ก�าหนดไว้
ในแต่ละประเทศ
โดยปกติ รัฐจะมีการอภิปรายระดับชาติเพื่อประกอบในการ
เมื่อรัฐเป็นภาคีสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชน พิจารณาก่อนการให้สัตยาบันในสนธิสัญญาหรือการยอมรับใน
ระหว่างประเทศใด ๆ จะต้องท�าให้เชื่อมั่นว่า พิธีสารใด ๆ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสามารถมีบทบาท
เจตจ�านงนั้นจะสะท้อนในกฎหมายระดับชาติ ส�าคัญในการให้ค�าปรึกษา โดยเฉพาะค�าแนะน�าถึงประโยชน์
ในบางประเทศ รัฐธรรมนูญจะก�าหนดว่า ให้ ที่จะได้ต่อการปรับปรุงสถานการณ์ของประเทศหากมีการ
ตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่รัฐให้ ด�าเนินการตามสนธิสัญญาหรือพิธีสารดังกล่าว
สัตยาบันกลายเป็นกฎหมายโดยอัตโนมัติ และ
ในบางประเทศ ตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่าง สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจยังมีการให้ค�าแนะน�า
ประเทศที่รัฐให้สัตยาบันจะถูกผนวกไว้อย่าง ในกรณีที่รัฐบาลจะพิจารณาการจัดท�าข้อสงวน (reservation)
เป็นทางการในกฎหมายของประเทศนั้น ๆ ในสนธิสัญญา ในหลักการทั่วไปนั้น สถาบันฯ ควรเสนอกลไก
ก่อนที่จะมีผลบังคับใช้ ทั้งนี้ ประเทศส่วนใหญ่ หรือกฎหมายหรือแนวทางอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อถอนข้อสงวน
มักจะใช้ทั้งสองวิธีการแบบผสมผสานกัน อย่างไรก็ดี หากรัฐยังคงตัดสินใจที่จะยื่นข้อสงวน สถาบันฯ ควรจะ
เสนอการจ�ากัดขอบเขตของข้อสงวนให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
และเรียกร้องให้มีการประชุมเพื่อทบทวนและถอนข้อสงวน
ดังกล่าว
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรมีการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณชน ในเรื่องสนธิสัญญา
ด้านสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที่รัฐได้ให้สัตยาบัน เนื้อหาและขอบเขต
ของข้อสงวนที่ได้ท�า และพิธีสารที่มีการยอมรับ ทั้งนี้ ควรมีการผลักดันอย่างต่อเนื่อง และ
สนับสนุนให้รัฐยอมรับและใช้แนวทางการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้มากที่สุดเท่าที่จะท�าได้
110
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ