Page 113 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 113
โดยทั่วไป คณะกรรมการประจ�ากติการะหว่างประเทศและอนุสัญญาระหว่างประเทศ (treaty bodies) จะตรวจสอบ
การปฏิบัติตามข้อก�าหนดในสนธิสัญญาของรัฐ ผ่านการเก็บข้อมูลจากมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น มุมมองของ
องค์การเอกชนระดับชาติและระหว่างประเทศต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศ เป็นต้น
• รายงานภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการ
ทรมานฯ อาจรวมถึงผลสรุปจากการ
เฝ้าระวังหรือการตรวจสอบในสถานที่กักขัง
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและความส�าเร็จ ซึ่งได้ด�าเนินการโดยสถาบันสิทธิมนุษยชน
ที่ส�าคัญของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในช่วง แห่งชาติ ในขณะที่มีเหตุการณ์การทรมานขึ้น
ระยะเวลาของการจัดท�ารายงาน ควรประกอบอยู่ใน • การรายงานต่อคณะกรรมการว่าด้วย
รายงานของรัฐที่ส่งให้คณะกรรมการประจ�ากติกา สิทธิเด็ก อาจรวมถึงผลการตรวจสอบของ
ระหว่างประเทศและอนุสัญญาระหว่างประเทศ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติถึงระดับการ
(treaty bodies) ด้วย ดังนั้น อย่างน้อยที่สุด สถาบัน เคารพในสิทธิที่เด็กผู้หญิงควรได้รับการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรมีส่วนร่วมในการจัดท�าร่าง ศึกษาต่อ
ตรวจสอบ หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายงาน • ฯลฯ
ในส่วนที่มีการกล่าวถึงสถาบันของตน ตัวอย่างเช่น
อย่างน้อยที่สุด สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรตรวจสอบรายงานของรัฐเพื่อให้แน่ใจว่าเนื้อหา
ในส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับการท�างาน หรือการค้นพบของสถาบันฯ ได้ถูกน�าเสนออย่างถูกต้อง อย่างไรก็ดี
ในบางประเทศ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ประสานงานในการส่งผ่าน
ข้อมูลจากกระทรวง กรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ หากเป็นเช่นนั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ควรรวบรวมข้อมูลและจัดท�ารายงานฉบับร่าง แล้วเวียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบ ในกรณีนี้
เป็นสิ่งส�าคัญที่ต้องตระหนักเสมอว่า ภาระหน้าที่ในการรายงานเป็นความรับผิดชอบของรัฐ และรายงาน
ที่จะน�าเสนอให้คณะกรรมการประจ�ากติการะหว่างประเทศและอนุสัญญาระหว่างประเทศ (treaty
bodies) นั้นเป็นรายงานของรัฐ
112
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ