Page 108 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 108

6.2   แนวทางปฏิบัติงานด้านการเสนอการปรับเปลี่ยนข้อกฎหมายเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน


                     สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีหน้าที่ในการจัดท�าข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนเป็นประจ�าทุกปี ผ่านรายงานสิทธิมนุษยชน
                   ประจ�าปีหรือรายงานเฉพาะ ทั้งนี้  ควรมีการหารือร่วมกับคณะกรรมการของรัฐสภาที่มีอ�านาจ  และกระทรวงต่าง ๆ  ที่เกี่ยวข้อง

                   ภายในเวลาที่เหมาะสม (ซึ่งไม่ควรเกิน 6 เดือน) โดยควรเน้นเรื่องการติดตามประเมินผลการด�าเนินการที่ผ่านมา


                     กระบวนการในการจัดท�าข้อเสนอแนะนี้ ควรมีความโปร่งใส เปิดเผย และเน้นการให้ค�าปรึกษาเป็นส�าคัญ ทั้งนี้ กระบวนการที่

                   โปร่งใสและเปิดเผยจะสนับสนุนให้ข้อเสนอแนะมีบทบาทความส�าคัญขึ้น ดังนั้น หากรัฐบาลหรือกระทรวงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเลือก
                   ที่จะไม่ด�าเนินการตามข้อเสนอแนะดังกล่าว  อาจจะส่งผลต่อความน่าเชื่อถือขององค์การระหว่างประเทศถึงเจตนาของประเทศที่

                   จะเคารพตามหลักสิทธิมนุษยชน


                     การทบทวนกฎหมาย นโยบาย

                     และแนวทางปฏิบัติที่มีอยู่



                     สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรมีการทบทวนกฎหมาย นโยบาย และแนวทางปฏิบัติที่มีอยู่อย่างเป็นระบบ “เพื่อรักษาและ
                   ขยายการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน” ความรับผิดชอบนี้ครอบคลุมถึงกฎหมายและสถานการณ์ทั้งหมด นอกจากนี้ หลักการปารีส
                   ยังเสนอให้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเข้าไปมีบทบาทในการให้ข้อเสนอแนะต่อการอภิปรายรับรองกฎหมายใหม่หรือการ

                   แก้ไขกฎหมายที่มีอยู่อีกด้วย


                     หลักการปารีสก�าหนดว่า  สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรให้ข้อเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหลักการด้านสิทธิมนุษยชน

                   ซึ่งหลักการดังกล่าวส่งผลให้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีหน้าที่รับผิดชอบในการให้ค�าปรึกษาต่อสถานการณ์ที่มีการละเมิด
                   สิทธิมนุษยชนในแต่ละพื้นที่ รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะต่อ “จุดยืนและปฏิกิริยาของรัฐบาล” ต่อเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ ข้อเสนอแนะ
                   โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นผลมาจากการตรวจสอบหาข้อเท็จจริงของสถาบันฯ และ/หรือ จากกิจกรรมการเฝ้าระวัง



                                  การให้ข้อเสนอแนะต่อกฎหมาย นโยบาย หรือแนวทางการปฏิบัติของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                                               มักจะเกี่ยวข้องกับประเด็นบางส่วนหรือทั้งหมดในเรื่องดังต่อไปนี้






                      •  การก�าหนดมาตรฐานตามหลักสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและระหว่างประเทศ
                      •  การประเมินระดับที่กฎหมาย นโยบาย และแนวทางปฏิบัติ จะไม่กระทบต่อหลักสิทธิมนุษยชน
                      •  การก�าหนดแนวทางที่กฎหมาย นโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติ และผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบจะมีส่วนช่วยในการส่งเสริม

                      สิทธิมนุษยชน
                      •  การก�าหนดความคาดหวังของประชาชนทั่วไปต่อเรื่องที่จะถูกเปลี่ยนแปลง และร่วมก�าหนดตัวชี้วัดความส�าเร็จ

                      •  การโน้มน้าว (lobbying) เพื่อให้แน่ใจว่ามีการน�าข้อเสนอแนะต่าง ๆ ไปใช้จริง







                                                                                                                107
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113