Page 9 - รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี
P. 9

5




               สามารถร้องขอต่อศาลเพื่อให้มีการยุติการกระท าทรมานได้เพื่อคุ้มครองบุคคล

               ดังกล่าวตามข้อ 13 ของอนุสัญญาฯ โดยได้มีการจัดการรับฟังความเห็นจากภาค


               ส่วนต่างๆ รวมทั้งจากองค์กรภาคประชาสังคมด้วย



               8. กสม. มีข้อสังเกตในส่วนของร่าง พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา

               ที่จัดท าโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพร่วมกับคณะกรรมาธิการกฎหมาย


               การยุติธรรม และสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎรว่า ถ้อยค าในร่าง พ.ร.บ.


               ดังกล่าวอาจยังไม่สอดคล้องกับนิยามของการทรมาน

               ตามอนุสัญญาฯ อย่างครบถ้วน ได้แก่ (1) การก าหนดให้การกระท าความผิดฐาน


               ท าร้ายร่างกายที่เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระท าได้รับอันตรายต่อจิตใจเป็นการกระท า

               ทรมานที่จ ากัดเฉพาะอันตรายที่ส่งผลในระยะยาว น่าจะยังไม่สอดคล้องกับนิยาม


               ของการทรมานตามข้อ 1 ของอนุสัญญาฯ  (2) ร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าวยังไม่


               ครอบคลุมเจตนาพิเศษของการทรมานทั้งหมดตามอนุสัญญาฯ โดยยังไม่

               ครอบคลุมเรื่องการกระท าทรมานที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติ  (3) ประเภทของ


               เจ้าพนักงานของรัฐที่ก าหนดไว้ในร่างกฎหมายดังกล่าว อาจยังไม่ชัดเจนว่าจะ

               ครอบคลุมเจ้าพนักงานของรัฐทุกประเภทที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ที่มีการ


               ควบคุมบุคคลตามความมุ่งหมายของอนุสัญญาฯ เช่น เจ้าพนักงานของรัฐที่


               ปฏิบัติหน้าที่ในสถาบันจิตเวช เป็นต้น และ (4) ยังไม่ได้มีการบัญญัติห้ามการ

               กระท าอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือการปฏิบัติ หรือการลงโทษที่ย่ ายีศักดิ์ศรี


               ที่ไม่ถึงกับเป็นการทรมานตามที่บัญญัติไว้ในข้อ 16 ของอนุสัญญาฯ ไว้อย่างชัด

               แจ้ง




               9. ข้อเสนอแนะ กสม. เห็นว่ารัฐบาลควรออกกฎหมายเฉพาะเพื่อรองรับการ

               ด าเนินการตามอนุสัญญาฯ โดยให้มีมาตรการและมาตรฐานขั้นต่ าสอดคล้องกับ


               อนุสัญญาฯ ทั้งในส่วนของนิยามของการทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่น
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14