Page 6 - รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี
P. 6
2
ที่สาม (2) เป็นการกระท าเพื่อลงโทษผู้นั้นจากสิ่งที่ผู้นั้นหรือบุคคลที่สามได้กระท า
ไปหรือเชื่อว่าได้กระท าไป หรือ (3) เป็นการกระท าที่เกิดจากการเลือกปฏิบัติด้วย
เหตุต่างๆ ดังนั้น ประเทศไทยจึงท าค าแถลงตีความเข้าใจความหมายของการ
กระท าทรมานในข้อ 1 ของอนุสัญญาฯ ตามบทบัญญัติของประมวลกฎหมาย
อาญาที่มีอยู่
3. บทบัญญัติความผิดที่อาจน ามาปรับใช้เพื่อรองรับการด าเนินการให้เป็นไปตาม
อนุสัญญาฯ ตามข้อ 2 ข้างต้นมิได้เป็นบทบัญญัติที่ใช้บังคับเฉพาะกับเจ้าหน้าที่
ของรัฐ ซึ่งเป็นความมุ่งหมายของอนุสัญญาฯ ตามนิยามในข้อ 1 แต่มีผลใช้บังคับ
กับบุคคลทั่วไปซึ่งรวมถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วย อย่างไรก็ดี ประมวลกฎหมายอาญา
ได้ก าหนดความผิดส าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบไว้เป็นการ
เฉพาะในมาตรา 157 ซึ่งระบุว่า “ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการ
ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละ
เว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่ 1 – 10 ปี หรือปรับ
ตั้งแต่ 2,000 – 20,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ” ดังนั้น หากเจ้าหน้าที่รัฐใช้
อ านาจโดยมิชอบในการทรมานบุคคลใด เจ้าหน้าที่ผู้นั้นย่อมต้องรับโทษตาม
มาตรา 157 ด้วย
4. ส าหรับบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ ในข้อ 2.3 ที่ระบุว่าค าสั่งผู้บังคับบัญชาไม่
สามารถน ามาอ้างเป็นเหตุผลในการทรมานได้นั้น มาตรา 70 ของประมวล
กฎหมายอาญาอาจน ามาใช้เพื่อรองรับพันธกรณีในข้อนี้ได้ โดยมาตรา 70 ระบุไว้
ว่า “ผู้ใดกระท าตามค าสั่งของเจ้าพนักงาน แม้ค าสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมาย ถ้า
ผู้กระท ามีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ
เว้นแต่จะรู้ว่าค าสั่งนั้นเป็นค าสั่งซึ่งมิชอบด้วยกฎหมาย” ดังนั้น เจ้าหน้าที่รัฐที่
กระท าทรมานตามค าสั่งของผู้บังคับบัญชา หากกระท าไปโดยรู้ว่าเป็นค าสั่งที่มิ