Page 73 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 2 ระหว่าง มกราคม - มิถุนายน 2558
P. 73

71
                                              ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                                                     ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๒  ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๘


                             ๕.๓.๔  แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑)

                                    แผนสิทธิมนุษยชนด้�นกระบวนก�รยุติธรรม

                                    ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติก�ร

                                    ๑.  เปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตให้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเป็นโทษจำาคุกตลอดชีวิต
                  เพื่อสานต่อวัตถุประสงค์ในการยกระดับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับ
                  มาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล โดยดำาเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้

                                        (๑.๓)  เสนอแก้ไขกฎหมายเพื่อลดจำานวนความผิดทางอาญาที่มีบทลงโทษ
                  ประหารชีวิต โดยเฉพาะอาชญากรรมที่ไม่ถือเป็นอาชญากรรมอุกฉกรรจ์ที่สุด ตามข้อบทที่ ๖ วรรคสอง ของ

                  กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เช่น ความผิดเกี่ยวกับการวางเพลิง การก่อ
                  การร้าย ภายในปี ๒๕๖๐


                        ๕.๔  กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

                             ข้อ ๒
                             ๑.  .................................

                             ๓.  รัฐภาคีแต่ละรัฐแห่งกติกานี้รับที่จะ
                             (ก)  ประกันว่า  บุคคลใดที่สิทธิหรือเสรีภาพของตนซึ่งรับรองไว้ในกติกานี้ถูกละเมิด ต้องได้รับ
                  การเยียวยาอย่างเป็นผลจริงจัง โดยไม่ต้องคำานึงว่าการละเมิดนั้นจะถูกกระทำาโดยบุคคลผู้ปฏิบัติการตามหน้าที่

                             (ข)  ประกันว่า  บุคคลใดที่เรียกร้องการเยียวยาดังกล่าวย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการพิจารณาจาก
                  ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายนิติบัญญัติที่มีอำานาจ หรือจากหน่วยงานอื่นที่มีอำานาจตามที่กำาหนดไว้
                  โดยระบบกฎหมายของรัฐ และจะพัฒนาหนทางการเยียวยาด้วยกระบวนการยุติธรรมทางศาล

                             (ค) ประกันว่า  เจ้าหน้าที่ผู้มีอำานาจต้องบังคับการให้การเยียวยานั้นเป็นผล

                             ข้อ ๗  บุคคลจะถูกทรมาน หรือได้รับการประติบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือ
                   ่
                  ตำาช้ามิได้  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บุคคลจะถูกใช้ในการทดสอบทางการแพทย์ หรือทางวิทยาศาสตร์โดยปราศจาก
                  ความยินยอมอย่างเสรีของบุคคลนั้นมิได้

                             ข้อ ๙

                             ๑.  บุคคลทุกคนมีสิทธิในเสรีภาพและความปลอดภัยของร่างกาย บุคคลจะถูกจับกุมหรือควบคุม
                  โดยอำาเภอใจมิได้  บุคคลจะถูกลิดรอนเสรีภาพของตนมิได้  ยกเว้นโดยเหตุและโดยเป็นไปตามกระบวนการที่บัญญัติ
                  ไว้ในกฎหมาย

                             ๒.  .......................................
                             ๔.  บุคคลใดที่ถูกลิดรอนเสรีภาพโดยการจับกุมหรือการควบคุม มีสิทธินำาคดีขึ้นสู่ศาลเพื่อให้ศาล
                  ตัดสินโดยไม่ชักช้าถึงความชอบด้วยกฎหมายของการควบคุมผู้นั้น และหากการควบคุมไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ให้

                  ศาลมีคำาสั่งปล่อยตัวไป
                             ๕.  บุคคลใดที่ถูกจับกุมหรือถูกควบคุมโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายมีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทน

                             ข้อ ๑๓  คนต่างด้าวผู้อยู่ในดินแดนของรัฐภาคีแห่งกติกานี้โดยชอบด้วยกฎหมายอาจถูกไล่ออกจาก
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78