Page 160 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 2 ระหว่าง มกราคม - มิถุนายน 2558
P. 160

158   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                  ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๒  ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๘


               สปสช. ได้ช่วยเหลือเบื้องต้นประมาณสี่สิบแปดกรณีต่อเดือน  อย่างไรก็ตาม เรื่องกองทุน  ถ้าจะให้ครอบคลุม

               ทุกกรณี  ควรตั้งงบประมาณให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม  โดยรวมรัฐวิสาหกิและหน่วยงานของรัฐทั้งหมดด้วย
               ส่วนร่างของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายที่กำาหนดให้ สปสช. เป็นองค์กรหลักในการดำาเนินการ  สปสช. ไม่ขัดข้อง

                           ๓.  ผู้แทนคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (นางสาวนลินี  ศรีกสิกุล  นักวิชาการปฏิรูปกฎหมาย
               อาวุโส)

                              ๓.๑  ร่�งพระร�ชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียห�ยจ�กก�รรับบริก�รส�ธ�รณสุข พ.ศ. .... ของ

               คณะกรรมก�รปฏิรูปกฎหม�ย ได้นำาเสนอต่อคณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาปฏิรูปแห่งชาติแล้ว
               รวมทั้งได้เสนอต่อกระทรวงสาธารณสุขด้วย
                              ๓.๒  ร่�งกฎหม�ยหลักมีสองร่�ง คือ ร่�งพระร�ชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียห�ยจ�กก�รรับบริก�ร

               ส�ธ�รณสุข พ.ศ. .... ของ คณะกรรมก�รปฏิรูปกฎหม�ย และร่�งพระร�ชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบ
               จ�กก�รบริก�รส�ธ�รณสุข พ.ศ. .... ของ กระทรวงส�ธ�รณสุข  ซึ่งทั้งสองร่างมีความแตกต่างกันหลายประการ เช่น

               ชื่อร่างพระราชบัญญัติ คำานิยามผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้ได้รับผลกระทบ องค์ประกอบของคณะกรรมการ
               สำานักงาน เงื่อนไขการฟ้องคดี (ร่างพระราชบัญญัติกองทุนฯ ของกระทรวงสาธารณสุขกำาหนดให้ต้องผ่านขั้นตอน
               ตามร่างพระราชบัญญัติกองทุนฯ ก่อนจึงจะฟ้องคดีได้  แต่ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายฯ ของ

               คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ไม่ได้กำาหนดเช่นนั้น  ผู้เสียหายสามารถฟ้องคดีได้โดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนตาม
               ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายฯ ก่อน)  กรณีความเสียหายปรากฏขึ้นภายหลังการทำาสัญญาประนีประนอม
               ยอมความ ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ของกระทรวงสาธารณสุขไม่ได้กำาหนดไว้ เป็นต้น


                     ๔.๓  หลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

                           ๔.๓.๑  กฎหมายภายใน

                                 (๑) หลักก�รต�มรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช ๒๕๕๐
                                     ม�ตร� ๒๘ วรรคสอง  บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้

               สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้
                                     ม�ตร� ๒๘ วรรคส�ม  บุคคลย่อมสามารถใช้สิทธิทางศาลเพื่อบังคับให้รัฐต้องปฏิบัติ

               ตามบทบัญญัติในหมวดนี้ได้โดยตรง  หากการใช้สิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแห่ง
               การใช้สิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว้แล้ว  ให้การใช้สิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้นเป็นไปตามที่

               กฎหมายบัญญัติ
                                     ม�ตร� ๔๐  บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม ดังต่อไปนี้

                                     (๑)  สิทธิเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง
                                     ..............................

                                     ม�ตร� ๘๐ รัฐต้องดำาเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา
               และวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้
                                      ................................

                                     (๒)  ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำาไป
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165