Page 159 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 2 ระหว่าง มกราคม - มิถุนายน 2558
P. 159
157
ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เล่ม ๒ ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๘
ทั้งสถานพยาบาลและประกอบโรคศิลปะของรัฐและเอกชนอยู่แล้ว
๖) กองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข (มาตรา ๑๙)
ประกอบด้วยเงินที่โอนมาจากเงินตามมาตรา ๔๑ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
เงินที่ได้รับจัดสรรจากกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมเป็นรายปี จำานวนไม่เกิน
ร้อยละหนึ่งของเงินสมทบของแต่ละปีและเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้จากงบประมาณรายจ่ายประจำาปี (กองทุน
สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ) ซึ่งถ้าเป็นไปในแนวทางนี้ก็จะต้องมีการแก้ไขกฎหมายสามฉบับ รวมถึง
เงินที่สถานพยาบาลภาคเอกชนสมัครใจจ่ายสมทบ ซึ่งถ้าประชาชนเข้ารับบริการในสถานพยาบาลที่ไม่ได้เข้าร่วม
กองทุนตามร่างพระราชบัญญัตินี้ ก็จะไม่สามารถเรียกเงินชดเชยได้ อย่างไรก็ตาม ถ้ารัฐบาลเห็นว่าควรมาจาก
เงินอุดหนุนของรัฐบาล เงินที่มาของกองทุนจะถูกกำาหนดไว้ในพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒
สำาหรับรายละเอียดจำานวนเงินชดเชยจากกองทุนยังไม่ได้กำาหนดไว้ในร่างพระราชบัญญัตินี้จะกำาหนดในกฎหมาย
ลำาดับรองต่อไป
๑.๓ ปัจจุบันห�กเกิดกรณีที่แพทย์กระทำ�คว�มผิดโดยจงใจหรือประม�ทเลินเล่ออย่�งร้�ยแรง
ในการให้การบริการสาธารณสุขจะมีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ได้รับความเสียหายก่อนแล้วจึงไล่เบี้ยกับ
แพทย์ในภายหลังตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
๑.๔ ปัจจุบันสภ�วิช�ชีพยังไม่เข้�ใจในเนื้อห�ของร่�งพระร�ชบัญญัติฯ จึงมีความเห็นคัดค้าน
ซึ่งกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขพยายามชี้แจงทำาความเข้าใจ โดยมีการประชุมร่วมกับ
ผู้ประกอบวิชาชีพที่ทำางานอยู่ที่กระทรวงสาธารณสุขหลากหลายวิชาชีพ เช่น แพทย์ เภสัชกร พยาบาล เป็นต้น
๒. ผู้แทนสำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) (นายพรหมมินทร์ หอมหวน
ผู้อำานวยการสำานักกฎหมาย)
๒.๑ ร่�งพระร�ชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจ�กก�รบริก�รส�ธ�รณสุข พ.ศ. ....
ม�ตร� ๑๙ และร่�งพระร�ชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียห�ยจ�กก�รรับบริก�รส�ธ�รณสุข พ.ศ. .... ม�ตร� ๑๙ กำาหนด
ที่มาของกองทุนว่าให้โอนหรือจัดสรรเงินตามมาตรา ๔๑ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๕ นั้น สปสช. ไม่ขัดข้องในหลักการ แต่อาจทำาให้ต้องลดบทบาทการเยียวยาลง ตามร่างพระราชบัญญัติ
กองทุนฯ ของกระทรวงสาธารณสุขคุ้มครองทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ซึ่งปัจจุบัน สปสช. ดำาเนินการอยู่
ทั้งสองส่วน โดยผู้รับบริการจะใช้มาตรา ๔๑ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ส่วนผู้ให้
บริการ สปสช. ใช้การบริหารจัดการกองทุนจ่ายเงินให้แพทย์ หรือพยาบาลที่ได้รับความเสียหายจากการให้บริการ
เช่น กรณีโดนเข็มฉีดยา เป็นต้น ซึ่งมีความสุ่มเสี่ยงกับการถูกตรวจสอบ ดังนั้น การจ่ายจะมีความเคร่งครัดมากกว่า
๒.๒ ข้อสังเกต คือ ก�รจ่�ยเงินช่วยเหลือผู้รับบริก�รต�มพระร�ชบัญญัติหลักประกันสุขภ�พ
แห่งช�ติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ม�ตร� ๔๑ เป็นการให้เงินช่วยเหลือเบื้องต้น ส่วนตามร่างพระราชบัญญัติกองทุนฯ เป็น
การจ่ายเงินชดเชยซึ่งอาจต้องใช้จำานวนเงินที่สูงกว่า และหากให้กองทุนตามร่างพระราชบัญญัติกองทุนฯ เป็น
คู่ความ ในการพิจารณาคดีในศาลควรต้องพิจารณาเกี่ยวกับการเตรียมพยานหลักฐานและข้อมูลต่างๆ ในการ
สู้คดีด้วย
๒.๓ สปสช. เห็นด้วยกับร่�งของกระทรวงส�ธ�รณสุข และร่�งของคณะกรรมก�รปฏิรูป
กฎหม�ย โดยร่างของกระทรวงสาธารณสุขให้การคุ้มครองทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ซึ่งกรณีผู้ให้บริการ ปัจจุบัน