Page 23 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 23

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                จึงเปนการวิเคราะหนโยบายและกฎหมายที่ละเมิดสิทธิในมุมกวาง แมจะมีขอเสนอในการปรับแกกฎหมาย

                มามากแลว แตเปนขอเสนอจากมุมมองการบังคับใชกฎหมายที่ไมมีประสิทธิภาพ แตยังไมพบงานใด ๆ ที่ศึกษา
                วิเคราะหเจาะลึกประเด็นการละเมิดสิทธิเพื่อเสนอแนะการปรับปรุงระเบียบกฎหมายในระดับปฏิบัติการ

                ที่ละเมิดสิทธิของประชาชน
                         ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการศึกษาวิจัยถึงรายละเอียดของกฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ มติคณะรัฐมนตรี

                ดังกลาวอยางละเอียด โดยใชขอมูลรายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการ
                สิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนฐาน เพื่อการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล ปญหาขอเท็จจริง ปญหาทางกฎหมาย

                ตลอดจนความเกี่ยวโยงสัมพันธระหวางสภาพปญหาจริงกับกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ อันนํามาสูขอเสนอเชิงนโยบาย
                ที่เปนรูปธรรม สามารถนําไปสูการปรับเปลี่ยนตัวบทกฎหมายนั้น ๆ ใหสอดคลองกับความเปนจริงไดตอไป



                1.2 แนวความคิด

                         การมีที่ทํากินเปนของตนเองถือเปนสิทธิพื้นฐานของราษฎรในชนบท ที่จะชวยใหสามารถทํามาหากิน
                เพื่อดํารงชีวิตอยูไดอยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยได แมรัฐธรรมนูญก็ยังมีเจตนารมณที่จะชวยใหเกษตรกรทุกคน

                มีที่ทํากินโดยไดระบุไวในมาตรา 85 (2) ใหกระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรมและดําเนินการใหเกษตรกร
                มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอยางทั่วถึง แตในทางปฏิบัติ รัฐไดประกาศพื้นที่ที่ยังไมมี

                กรรมสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายที่ดินเปนที่ของรัฐ ทําใหราษฎรและชุมชนสูญเสียสิทธิครอบครองและใชประโยชน
                ที่ดินที่ถือสืบตอกันมา ที่ดินสวนหนึ่งที่นํามาจัดสรรใหเกษตรกรยากจนแตก็ไมสามารถชวยเกษตรกรใหมีความ

                สามารถรักษาที่ดินไวได เกษตรกรไรที่ดินกลับมีจํานวนเพิ่มขึ้น ที่เปนดังนี้เพราะที่ดินกลายเปนสินคาที่กระจุกตัว
                อยูในมือผูที่มีทุนทรัพยแตมิไดถือครองใชประโยชน เกษตรกรรายยอยจึงถูกเบียดขับออกจากที่ดินดวยวิธีการ

                ตาง ๆ นานา ปญหาที่ดิน โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็นการละเมิดสิทธิที่ดินจึงเปนเรื่องสําคัญที่จะตองเรงแกไข
                ดวยการศึกษาหาขอมูล ความรู และประสบการณที่จะนําไปสูการแกปญหา ทั้งในระดับโครงสราง อันไดแก

                นโยบาย กฎหมาย และในระดับปฏิบัติซึ่งเปนกรณีพิพาทขัดแยงกันในชุมชนใหสําเร็จ
                         ที่ดินเปนฐานทรัพยากรที่จําเปนสําหรับชีวิตของชาวชนบท และยังเปนปจจัยการผลิตสําคัญ ที่ชวยผลิต

                อาหารเลี้ยงผูคนทั้งโลก สิทธิในการครอบครองและใชประโยชนที่ดินเพื่อการยังชีพ จึงเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่สําคัญ
                ซึ่งเชื่อมโยงไปสูสิทธิมนุษยชนดานอื่น ๆ เชน สิทธิทางเศรษฐกิจ สิทธิทางสังคม สิทธิทางวัฒนธรรม สิทธิทาง

                การเมือง และสิทธิความเปนพลเมือง การสูญเสียสิทธิในที่ดินจึงเปนการสูญเสียที่ยิ่งใหญที่จะนําไปสูความเศราสลด
                ตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนในชนบท เพราะเปนเหตุใหตองสูญเสียสิทธิดานอื่น ๆ ไปดวย เชน การเขาไมถึง

                ทรัพยากร หรือการเขาไมถึงสวัสดิการของสังคมและสวัสดิการของรัฐในดานตาง ๆ สงผลใหเกิดปญหาความ
                ไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจและสังคมอยางรุนแรง การชวยกันคุมครองปองกันการละเมิดสิทธิ

                ในที่ดินของประชาชนจึงมีความจําเปนยิ่ง









            2    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28