Page 133 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 133

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         การพิสูจนสิทธิชุมชนในเขตปา

                         มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 หาทางออกขอเรียกรองของเครือขายเกษตรกร

                ภาคเหนือ (คกน.) และชนเผา 8 จังหวัดภาคเหนือ โดยใหมีการพิสูจนสิทธิใหชัดวาคนกับการประกาศเขตปา
                ใครมากอน  หากคนอยูกอนประกาศเขตปาใหดําเนินการออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน

                หากคนอยูที่หลังใหแกปญหาเปนรายกรณีตามความเปนจริง โดยใหมีการจัดทําแนวเขตปกหมุดที่ทํากิน

                และที่สวนรวมเพื่อขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตรและสหกรณเพื่อคุมครองที่ทํากินชั่วคราว ทั้งนี้ ใหดําเนินการ
                เฉพาะผูที่มีสัญชาติไทย

                         การสํารวจพื้นที่ครอบครองแกไขปญหาของสมัชชาคนจน
                         มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2544 ใหตั้งคณะกรรมการรวมระหวางฝายรัฐและราษฎร

                ใหมีคณะกรรมการในจํานวนเทากัน  เพื่อสํารวจพื้นที่ที่ครอบครอง  แกไขปญหาของสมัชชาคนจน

                และใหคณะกรรมการฯ สํารวจและพิสูจนสิทธิการครอบครองที่ดิน รวมทั้งปรับแนวเขตพื้นที่ใหสอดคลอง
                กับความเปนจริง

                         การฟนฟูวิถีชีวิตชาวเล
                         มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบหลักการแนวนโยบายในการฟนฟู

                วิถีชีวิตชาวเลตามที่กระทรวงวัฒนธรรมเสนอ และมอบหนวยงานที่เกี่ยวของนําแผนดังกลาวไปปฏิบัติ ดังนี้

                         1.  มาตรการฟนฟูระยะสั้น ดําเนินการภายใน 6 - 12 เดือน
                            1.1  การสรางความมั่นคงดานที่อยูอาศัย ดวยการจัดทําโฉนด ชุมชนเพื่อเปนเขตสังคม

                และวัฒนธรรมพิเศษสําหรับกลุมชาวเล โดยใหมีการพิสูจนสิทธิในที่อยูอาศัยของชุมชนผานภาพถายทางอากาศ

                และดวยวิธีอื่น ๆ ที่ไมใชเอกสารสิทธิแตเพียงอยางเดียว และใหแตงตั้งอนุกรรมการแกไขปญหาที่ดินเพื่อการพิสูจน
                ที่ดินชุมชนชาวเลเปนการเฉพาะ

                            1.2  การใหชาวเลสามารถประกอบอาชีพประมง หาทรัพยากรตามเกาะตาง ๆ ได และเสนอ

                ผอนปรนพิเศษในการประกอบอาชีพประมงที่ใชอุปกรณดั้งเดิมของกลุมชาวเลในการเขาไปทํามาหากินในพื้นที่
                อุทยานและเขตอนุรักษอื่น ๆ และกันพื้นที่จอด ซอมเรือ เสนทางเขา - ออกเรือ เนื่องจากสวนมากทับซอน

                พื้นที่เพื่อการทองเที่ยว มีความขัดแยงกันเปนระยะ รวมถึงการควบคุมเขตการทําประมงอวนลากและอวนรุน
                ใหเปนไปตามขอตกลงอยางแทจริง (รุกลํ้าเขตประมงชายฝง)

                            1.3  การชวยเหลือดานสาธารณสุขเพื่อฟนฟูสําหรับผูไดรับผลกระทบจากการประกอบอาชีพ

                หาปลา/ดํานํ้าทําใหเกิดโรคนํ้าหนีบ และการมีปญหาดานสุขภาพ
                            1.4  การชวยแกปญหาสัญชาติในกลุมชาวเลที่ไมมีบัตรประชาชน

                            1.5  การสงเสริมดานการศึกษาแกเด็กและสนับสนุนทุนการศึกษาอยางตอเนื่อง พรอมกับ
                จัดตั้งการศึกษาพิเศษ/หลักสูตรทองถิ่นที่สอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชน เนื่องจากเด็กชาวเลออกจากโรงเรียน

                กอนจบการศึกษาภาคบังคับ



         112     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138