Page 16 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 16
ไดรวดเร็วและทันทวงที รวมถึงยังมีการแกไขเยียวยาและมีการจัดการกับคนที่กระทําการละเมิดดวย เพื่อให
สามารถแกไขปญหาการละเมิดสิทธิครอบคลุม ครบวงจร
โดยมาตรการดังกลาว อาจจําเปนตองแกไขกฎหมายเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติและอาจตองมีการระดมความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาวาควรมีการเพิ่มบทบาทหนาที่
ดังกลาวแคไหน เพียงใด
2. มาตรการอื่น ๆ
จากการศึกษาวิจัยกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของตางประเทศ สามารถนําแนวทางปฏิบัติและ
ประสบการณของตางประเทศมาปรับใชกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในประเด็น
สําคัญได โดยนอกจากจะมีการดําเนินมาตรการทางกฎหมายแลว ยังมีการดําเนินการดานอื่น ๆ เปนมาตรการ
เสริมดวย ไดแก
2.1 การจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสาขาตาง ๆ ในตางจังหวัดเพื่อให
การชวยเหลือประชาชนในเรื่องสิทธิมนุษยชนมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น
2.2 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองมีการติดตามประเมินผล
ทั้งจากผูประเมินภายนอก และจากผูประเมินภายใน โดยการแตงตั้งคณะกรรมการจากตัวแทนหนวยราชการ
ระดับกระทรวงใหผูประเมินภายในสําหรับการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งมาตรการนี้ถือเปนสิ่งที่จะ
เปนประโยชนตอการขับเคลื่อนใหแผนสามารถนําไปสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม เพราะทุกกระทรวงอยูในฐานะ
ที่มีบทบาทหนาที่ตองนําแผนไปปฏิบัติและตองมีบทบาทเพิ่มเติม คือ “เปนผูประเมินผลดวย” เพื่อใหหนวยงาน
ในสังกัดแตละกระทรวงตระหนักและเห็นความสําคัญในการที่จะตองนําแผนไปปฏิบัติ แตในระยะเริ่มแรก
อาจตองมีการศึกษาวิจัย เพื่อกําหนดเปนกรอบแนวทางการดําเนินงานในเรื่องดังกลาวใหเกิดความชัดเจนกอน
2.3 การปลูกจิตสํานึก สรางความตระหนักโดยเริ่มตั้งแตเด็กและเยาวชน เพื่อใหไดเห็นคุณคา
ในหลักการของสิทธิมนุษยชน ไมวาจะเปนการเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิเสรีภาพการไมเลือกปฏิบัติ
และความเทาเทียมกัน เพื่อสรางคานิยมในสิ่งเหลานี้อยางตอเนื่อง อาจเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยสงเสริมสนับสนุน
ใหภารกิจดานสิทธิมนุษยชนบรรลุตามเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ
XI