Page 13 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 13
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจตรวจสอบการกระทําใด ๆ ไมวาจะเกิดจากการกระทําของหนวยงาน
ของรัฐ หรือของเอกชนที่ไดกระทําการอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทยตั้งแตฉบับ พ.ศ. 2540 เปนตนมา รวมถึงรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 ที่ใชบังคับในปจจุบัน
ก็ไดบัญญัติถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพของบุคคลไว โดยเฉพาะสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและ
รางกายของบุคคลตองไดรับความคุมครอง ดังนั้น ขอโตแยงเรื่องอํานาจการตรวจสอบของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติวา การกอตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนไปเพื่อประโยชนในการคุมครองศักดิ์ศรี
ความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยที่รัฐธรรมนูญรับรองไวใหพนจากการใชอํานาจขององคกรของรัฐ
ทุกองคกร แตรัฐธรรมนูญไมไดใหอํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเขามาจัดระเบียบความสัมพันธ
ในทางแพงระหวางเอกชนตอเอกชนแตอยางใด จึงเปนขอโตแยงที่ฟงไมไดแตอยางใด
2.2 กรณีผูพิการถูกปฏิเสธจากสถาบันการเงินผูใหบริการบัตรเครดิตในการขอสมัครใชบัตรเครดิต
โดยใหเหตุผลวาผูพิการไมสามารถกระทําตามขั้นตอนการใหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพบุคคลและสถานภาพทาง
การเงินของบุคคลตามที่ทางสถาบันการเงินกําหนดไวได
โดยปกติเมื่อมีการยื่นขอสมัครใชบัตรเครดิต ทางสถาบันการเงินผูใหบริการก็จะใหมีการกรอก
รายละเอียดเกี่ยวกับสถานภาพและสถานะทางการเงินของผูสมัคร หรือจัดเจาหนาที่เพื่อโทรศัพทไปสอบถาม
รายละเอียด แตกรณีผูขอสมัครเปนผูพิการทางสายตาหรือเปนผูพิการทางการไดยินซึ่งไมสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ
ดังกลาวได สถาบันการเงินจึงใชเหตุผลดังกลาวในการปฏิเสธไมใหผูพิการใชบัตรเครดิต ทั้งที่สถานะทางการเงิน
ของผูพิการนั้นก็เปนไปตามเกณฑที่ทางสถาบันการเงินกําหนดวาสามารถขอสมัครสมาชิกบัตรเครดิตได
จากกรณีศึกษาดังกลาว คณะผูศึกษาวิจัยเห็นวา เมื่อพิจารณาจากกฎหมายและหลักสากล
ที่เกี่ยวของกับสิทธิของคนพิการแลว มีหลักเกณฑที่เกี่ยวของที่สามารถจําแนกออกไดเปน 3 ประเภท ไดแก (1) หลักการ
สากลที่ใหการรับรองและคุมครองสิทธิมนุษยชนของคนพิการ ทั้งกฎมาตรฐานวาดวยการสรางความเสมอภาค
ทางโอกาสใหแกคนพิการขององคการสหประชาชาติ พ.ศ. 2537 และอนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ (2) การให
การรับรองและคุมครองสิทธิของคนพิการตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30
วรรคหนึ่ง ที่วา บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน และวรรคสาม
ที่วา การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ
อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพสถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา
การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได และ
(3) หลักการเคารพสิทธิมนุษยชนตามแนวคิดเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ (CSR) ที่วาผูประกอบธุรกิจ
ตองสนับสนุนและเคารพในการปกปองสิทธิมนุษยชน โดยหมั่นตรวจตราดูแลมิใหธุรกิจของตนเขาไปมีสวนเกี่ยวของ
กับการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชน และสงเสริมใหมีการเฝาระวังการปฏิบัติตามขอกําหนดดานสิทธิมนุษยชนภายใน
ธุรกิจของตน และกระตุนใหมีการปฏิบัติตามหลักการสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากล โดยความรับผิดชอบของ
ธุรกิจดานสิทธิมนุษยชนยังครอบคลุมไปถึงบริษัทในเครือผูรวมทุนและคูคา ดังนั้น จะเห็นไดวาการที่สถาบันการเงิน
ซึ่งเปนผูใหบริการบัตรเครดิตปฏิเสธมิใหผูพิการสมัครบัตรเครดิต โดยการอางเหตุวาผูพิการไมสามารถปฏิบัติตาม
หลักเกณฑเกี่ยวกับการใหขอมูลกับทางสถาบันการเงินตามระเบียบของสถาบันการเงิน โดยที่ยังไมไดมีการ
พิจารณาถึงเกณฑเกี่ยวกับสถานะทางการเงินของผูนั้น ยอมถือไดวาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยการเลือก
ปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล เพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องความพิการ
VIII