Page 14 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 14
จากการศึกษาวิจัย คณะผูศึกษาวิจัยไดสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน และใหขอเสนอแนะ
ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน โดยมีความเห็นและขอเสนอแนะ แบงออกเปนมาตรการ
ทางกฎหมายและมาตรการอื่น ๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1. มาตรการทางกฎหมาย
1.1 การกําหนดบทนิยามและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกี่ยวกับ
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันใหชัดเจน
คณะผูศึกษาวิจัยเห็นวา ประเด็นปญหาสําคัญเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติกับ
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน มีปญหาที่สําคัญ คือ การขาด
บทนิยามที่ชัดเจนเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ที่ชัดเจนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน สงผลเกิดขอโตแยงเรื่องอํานาจหนาที่ของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวาสามารถทําหนาที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ
ระหวางเอกชนดวยกันไดหรือไม และมีอํานาจแคไหน เพียงใด
การแกไขปญหาเรื่องนี้ ในทางปฏิบัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติอาจจําเปนจะตอง
กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันใหชัดเจน
เชน กําหนดลักษณะของเรื่องที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันที่
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสามารถรับเรื่องไวพิจารณาได ขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการรับเรื่องรองเรียน
การตรวจสอบ ฯลฯ ใหเกิดความชัดเจน เพื่อใหประชาชนทั่วไปไดรับทราบวาอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติในเรื่องดังกลาวนั้นมีอํานาจแคไหน เพียงใด
นอกจากนี้ การกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความ
สัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน อาจจําเปนตองมีการกําหนดขอบเขตของคําวา “สิทธิความเปนอยูสวนตัว”
ซึ่งจะเปนเสนแบงที่สําคัญวาการกระทํานั้นจะมีลักษณะเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนระหวางเอกชนดวยกันหรือไม
ซึ่งในการกําหนดขอบเขตของคําวา “สิทธิความเปนอยูสวนตัว” ของบุคคลนั้น อาจใชแนวทางตามที่ที่ประชุม
ICJ (International Commission of Jurists) ซึ่งไดใหความหมายไวในการประชุมเมื่อป 1967 ที่กรุงสต็อกโฮลม
ประเทศสวีเดน วาเปน “สิทธิที่จะอยูโดยลําพังโดยมีการรบกวนการแทรกแซงในระดับที่นอยที่สุด” ซึ่งมีการ
ขยายความวา หมายถึง สิทธิของปจเจกชนที่จะดําเนินชีวิตโดยไดรับการคุมครองจากสิ่งเหลานี้ คือ
1) การแทรกแซงในชีวิตความเปนสวนตัว ครอบครัว และเคหะสถาน
2) การแทรกแซงในทางกายภาพ หรือในทางจิตใจ หรือศีลธรรมและเสรีภาพในทางความคิด
3) การกระทําตอเกียรติยศและชื่อเสียง
4) การไขขาวแพรหลายซึ่งขอความอันฝาฝนความจริง ซึ่งทําใหเปนที่เสื่อมเสียในสายตาของ
สาธารณชน
5) การเปดเผยขอเท็จจริงที่ไมถูกตองอันเปนที่นาอับอายเกี่ยวกับชีวิตความเปนสวนตัว
6) การใชชื่อหรือเครื่องหมายชี้เฉพาะหรือภาพโดยไมมีอํานาจ
IX