Page 21 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 21
ในสังคมดังกลาว นํามาซึ่งการเรียกรองสิทธิมนุษยชนในรูปแบบใหมขึ้นมา ในลักษณะเปนสิทธิที่จะมีสภาพการ
ดํารงชีวิตที่ดีและมีสภาพการทํางานที่ดี โดยการเรียกรองใหรัฐเขามามีบทบาทในการกระทําเพื่อเสริมสรางให
มนุษยมีความเปนอยูที่ดี สมความเปนมนุษย ซึ่งตรงขามกับแนวคิดเดิมที่หามรัฐเขาแทรกแซงกอใหเกิดแนวคิด
พื้นฐานเกี่ยวกับการใหอํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความ
สัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกัน
แนวคิดดังกลาวเกิดขึ้นในชวงศตวรรษที่ 19 เพื่อจะเยียวยาแกไขความอยุติธรรมและความไรมนุษยธรรม
ที่เกิดขึ้นในสังคมอันเปนผลมาจาก “ลัทธิเสรีนิยม” (Liberalism) ที่เปดโอกาสใหมีการเอารัดเอาเปรียบกันเปน
อยางมากของผูคนในสังคม โดยเฉพาะผูที่มีความแข็งแรงกวามีอํานาจตอรองในทางเศรษฐกิจที่เหนือกวา มักจะใช
ความแข็งแรงและอํานาจตอรองที่เหนือกวาของตนดังกลาว กดขี่ ขมเหง เอารัดเอาเปรียบผูที่ออนแอกวาหรือ
ดอยกวาเพื่อแสวงหาประโยชนแกตนใหมากที่สุด ตัวอยางเชน ในเรื่องเสรีภาพในการแสดงเจตนาและเสรีภาพ
ในการทําสัญญาในความเปนจริงเกิดความไมเสมอภาคระหวางคูสัญญาโดยแสดงออกในรูปของการไมมีการเจรจา
ตอรองกัน คูสัญญาฝายหนึ่งเปนฝายที่เสียเปรียบในทางเศรษฐกิจ ถูกจํากัดในทางความเปนจริงวาตองเขารวมทํา
สัญญากับอีกฝายหนึ่ง โดยตองยอมรับตามขอสัญญาที่ผูประกอบธุรกิจการคาหรือวิชาชีพไดกําหนดไวลวงหนาแลว
เชน สัญญากูยืม สัญญาเชาซื้อ กรมธรรมประกันภัย หรือสัญญาจาง เปนตน สัญญาเหลานี้จะถูกรางเนื้อหา
ขอสัญญาไวกอนแลวโดยผูประกอบธุรกิจและฝายที่จะเขาทําสัญญาดวยไมมีสิทธิจะแกไขเปลี่ยนแปลงขอสัญญา
ดังกลาว แตจะทําไดเพียงแตจะยอมรับหรือปฏิเสธการทําสัญญาเทานั้นการเจรจาตอรองกันในสัญญาจะไมมีใน
สัญญาเหลานี้ และหลักที่วาสัญญาเกิดจากเจตนารวมกันโดยเสรีของคูสัญญาก็จะเปนไปไมไดอีกตอไป ความเปนธรรม
ในสังคมก็ไมมีเพราะในเมื่อขอสัญญาไดถูกกําหนดอยางไม เปนธรรมไวลวงหนาจากผูประกอบธุรกิจแตฝายเดียว
และอีกฝายหนึ่งอยูในภาวะจํายอมตองทําสัญญาดวย สัญญาเหลานี้จึงเสมือนเกิดจากเจตนาของผูประกอบธุรกิจ
ฝายเดียว หลักเจตนาและหลักเสรีภาพในการทําสัญญาจึงไมอาจเกิดขึ้นไดในสัญญาที่ไมมีความเทาเทียมกัน
ในการทําสัญญาจริง ๆ โดยเฉพาะในสัญญาจางแรงงานซึ่งคูสัญญาไมไดมีความเสมอภาคหรือมีเสรีภาพในการ
1
ทําสัญญาอยางแทจริง ในสัญญาจางแรงงานนายจางเปนผูที่อยูในสถานะที่ไดเปรียบกวาลูกจางเพราะเปนเจาของ
ปจจัยในการผลิต ในขณะที่ลูกจางมีแตเพียงแรงงานที่จะขายใหแกนายจางเทานั้น ความจําเปนทางเศรษฐกิจทําให
ลูกจางไมอาจเปนผูตั้งเงื่อนไขตอรองกับนายจางไดเพราะมีแรงงานในตลาดที่พรอมจะทําตามเงื่อนไขหรือความ
พอใจของนายจางอยูมากมาย จึงเห็นไดวาลูกจางถูกความจําเปนทางเศรษฐกิจบีบบังคับไมใหมีเสรีภาพในการที่จะ
ตอรองกับนายจางไดอยางเต็มที่ เสรีภาพความเสมอภาคในการทําสัญญาจางแรงงาน ในทางความเปนจริงจึงเปน
2
ไปไมได และนายจางมักจะขูดรีดเอาประโยชนจากแรงงานลูกจาง เชน กําหนดใหลูกจางทํางานลวงเวลาโดยไมจาย
คาลวงเวลา จายคาแรงใหแกลูกจางในราคาที่ถูกและไมใหสวัสดิการหรือจัดหามาตรการในการรักษาความปลอดภัย
ในการทํางานใหแกลูกจางและกดขี่ขูดรีดผูใชแรงงานในลักษณะตาง ๆ เปนตน
1 พอพันธุ คิดจิตต, “แนวความคิดและผลกระทบเกี่ยวกับขอสัญญาที่ไมเปนธรรม”, ดุลพาห, ปที่ 40, เลมที่ 6, พฤศจิกายน - ธันวาคม 2536, น.40 - 41.
2 มาลี พฤกษพงศาวลี, “สิทธิทางดานแรงงาน : ปจจัยพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน,” น.6 - 7.
2