Page 10 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 10

เพื่อใหดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการแกไขคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองรายงานตอรัฐสภา

               เพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไป นอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะมีอํานาจในการตรวจสอบและ
               รายงานการกระทําดังกลาวแลว ยังมีอํานาจหนาที่ในการเสนอแนะนโยบาย และขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย

               กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนดวย และตอมารัฐธรรมนูญ
               แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดประกาศใชบังคับก็ไดมีการกําหนดอํานาจเพิ่มเติมใหอํานาจตาม

               มาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               แหงชาติใหมีอํานาจฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เมื่อไดรับการรองขอจากผูเสียหายและเปนกรณีที่

               เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติเพิ่มเติมขึ้นดวย โดยให
               เปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติจัดตั้ง

               ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง และที่กฎหมายบัญญัติตามลําดับ ประกอบกับ เมื่อพิจารณาบทบัญญัติ
               เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 จะเห็นไดวา อํานาจหนาที่หลักของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ คือ
               อํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน

               หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการการแกไข
               ที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อใหดําเนินการแกไข หากไมมีการ

               ดําเนินการแกไขคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองรายงานตอนายกรัฐมนตรีและรัฐสภา เพื่อใหดําเนินการ
               ตอไป ซึ่งลักษณะงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้นเปนลักษณะของการแกไขปญหาในเชิงนโยบาย

               หรือการแกไขปญหาในภาพรวม แมวาในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จะกําหนดอํานาจ
               ใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสามารถตรวจสอบการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น

               เฉพาะรายหรือเฉพาะบุคคลไดดวย แตการใชอํานาจตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเฉพาะรายของคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้น มีวัตถุประสงคเพื่อนําผลการตรวจสอบที่ไดมากําหนดเปนนโยบายการแกไขปญหา

               ในภาพรวม นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               พ.ศ. 2542 ก็เห็นไดวามีบทบัญญัติรองรับใหบุคคลหรือหนวยงานตองดําเนินการตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ แตหากเปนกรณีพนระยะเวลาที่กําหนดแลว ถาบุคคลหรือหนวยงานมิไดมีการดําเนินการ
               ตามมาตรการการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือดําเนินการแลว แตยังไมแลวเสร็จโดยไมมีเหตุผลอันสมควร

               ใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรายงานตอนายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหมีการดําเนินการตามมาตรการการแกไข
               ปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับรายงาน ในการนี้ ใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

               แหงชาติกําหนดรายละเอียดในการใชอํานาจตามกฎหมายเพื่อการสั่งการของนายกรัฐมนตรีดวย โดยเหตุผลในการ
               กําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรายงานตอนายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหมีการดําเนินการตาม

               มาตรการการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้น มิไดหมายความวาเปนอํานาจของนายกรัฐมนตรีที่จะพิจารณา
               สั่งการใหมีการดําเนินการตามมาตรการการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนกรณีที่หนวยงานของรัฐกระทําการ

               ละเมิดตอเอกชน หรือหนวยงานของรัฐทําการละเมิดตอหนวยงานของรัฐเทานั้น แตอํานาจการสั่งการใหมีการ
               ดําเนินการตามมาตรการการแกไขดังกลาว รวมไปถึงกรณีที่เอกชนกระทําการละเมิดตอเอกชนดวยกันเองดวย

               เนื่องจากวาหากมีกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นไมวาจะเปนกรณีหนวยงานของรัฐเปนผูกระทําละเมิดตอ
               เอกชน หรือเอกชนกระทําละเมิดตอเอกชนดวยกัน ในทุกกรณีก็ยอมจะมีหนวยงานของรัฐที่มีหนาที่รับผิดชอบ


                                                                                                               V
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15