Page 9 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 9

ดังนั้น  สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ  จึงไดดําเนินการเพื่อศึกษาวิจัย  เรื่อง

              “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวาง
              เอกชนดวยกัน” โดยมี สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนที่ปรึกษา ทั้งนี้ เพื่อศึกษา

              แนวคิด หลักการ มาตรฐานสากล และศึกษา วิเคราะห กรณีที่เปนปญหาเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ของ
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน

              และเพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในการตรวจสอบการละเมิด
              สิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน ใหมีความชัดเจนและสอดคลองตามเจตนารมณของ

              รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 วรรคหนึ่ง (1) และพระราชบัญญัติ
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ  พ.ศ. 2542  มาตรา 15 (2)  โดยใชวิธีศึกษาวิจัยในเชิงเอกสาร

              (Documentary research) เพื่อนําองคความรูที่ไดมาจัดทําขอเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติหนาที่ของ
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชน

              ดวยกัน ทั้งนี้ คณะผูวิจัยไดแบงหัวขอการศึกษาออกเปน 2 ประการ ไดแก (1) ปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ

              ระหวางเอกชนดวยกัน และ (2) กรณีศึกษาและการวิเคราะหการตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
              แหงชาติเกี่ยวกับการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน ซึ่งมี

              รายละเอียดผลการศึกษาวิจัย ดังนี้
                     1. ปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทํา

              อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน
                         ปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทํา

              อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันของประเทศไทยนั้น อาจกลาวไดวา เปนปญหา
              ที่เกิดจากแนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการคุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เนื่องจากคณะกรรมการ

              สิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 อันเปน
              กฎหมายมหาชน ซึ่งมุงจะจัดระเบียบการปกครองของรัฐในทางการเมือง การกําหนดโครงสรางของรัฐ ระบบ

              การปกครองการใชอํานาจอธิปไตย และการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในประเทศ ฉะนั้น จึงมีผูเขาใจวา
              การกอตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้น เปนไปเพื่อประโยชนในการคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

              สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยที่รัฐธรรมนูญรับรองไวใหพนจากการใชอํานาจขององคกรของรัฐทุกองคกรเทานั้น
              เปนผลใหเมื่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีหนังสือเรียกบุคคล นิติบุคคล หรือหนวยงานเอกชนที่เกี่ยวของ

              มาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของมาตามวัน เวลา และสถานที่ที่กําหนด
              จึงไมไดรับความรวมมือเทาที่ควร

                         กรณีดังกลาว เมื่อพิจารณากรอบอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติแลว จะเห็น
              ไดวาเจตนารมณของกฎหมายที่จัดตั้งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับพุทธศักราช 2540 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญ

              ฉบับแรกของประเทศไทยที่ไดกอใหเกิดคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยในมาตรา 200 ไดกําหนดให
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบ และรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทํา

              อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย
              เปนภาคี และเสนอมาตรการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาว


           IV
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14