Page 8 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 8

บทสรุปสําหรับผูบริหาร





                      รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 วรรคหนึ่ง (1) และพระราชบัญญัติ

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 (2) บัญญัติใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               มีอํานาจหนาที่ตรวจสอบและรายงานการกระทํา หรือการละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน

               หรืออันไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการ
               การแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทํา หรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อดําเนินการ ในกรณี

               ที่ปรากฏวาไมมีการดําเนินการตามมาตรการการแกไขที่เสนอใหรายงานตอนายกรัฐมนตรีและรัฐสภาเพื่อดําเนินการตอไป
               อยางไรก็ตาม ในการตรวจสอบการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ผานมานั้น พบวามีประเด็นปญหาเกี่ยวกับ

               อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในกรณีที่มีการรองเรียนขอใหตรวจสอบการละเมิด
               สิทธิมนุษยชนที่เกิดจากการกระทําของเอกชน ซึ่งหากพบวามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น และบุคคลหรือ

               องคกรที่เปนภาคเอกชนไมดําเนินการตามมาตรการการแกไขปญหา การที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               จะรายงานตอนายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหบุคคลหรือองคกรภาคเอกชนนั้น ๆ ดําเนินการตามมาตรการดังกลาว

               ก็ไมอาจมีผลในทางปฏิบัติ เนื่องจากนายกรัฐมนตรีไมมีอํานาจตามกฎหมายที่จะสั่งการบุคคลหรือองคกร
               ภาคเอกชนใหดําเนินการตามมาตรการการแกไขปญหาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดโดยตรง

               นอกจากนี้ การคุมครองสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน อาจมีผลขัดแยงกับหลักความ
               เปนอิสระในการแสดงเจตนาในกฎหมายเอกชน เชน การคุมครองความเสมอภาคในการเลือกคูสัญญาของเอกชน

               อาจกระทบตอหลักความเปนอิสระในการแสดงเจตนา เปนตน ประเด็นปญหาจึงอยูที่การจํากัดขอบเขตอํานาจหนาที่
               ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการเขาไปตรวจสอบความสัมพันธระหวางเอกชนวามีหรือไม เพียงใด

               โดยเฉพาะหากเปนกรณีที่ความไมเปนธรรมเกิดขึ้นจากการที่คูกรณีมีฐานะและอํานาจในการตอรองหรือ
               ทําขอตกลงที่เหนือกวาอีกฝายหนึ่ง การทําสัญญาที่ไมเปนธรรม สัญญาจางที่ทําใหลูกจางเสียเปรียบ ผูบริโภคไมไดรับ

               การคุมครอง ซึ่งกรณีเหลานี้เปนหนาที่ของรัฐที่จะตองใหการคุมครองคูกรณีที่ตกเปนฝายเสียเปรียบ เนื่องจาก
               รัฐมีหนาที่ตามกฎหมายที่จะตองเขาไปดูแลปกปองคุมครองประชาชนใหไดรับความเปนธรรมในสังคม มีสภาพชีวิต

               และความเปนอยูที่ดี มีความเสมอภาคเทาเทียมกันทั้งในทางกฎหมายและในสภาพความเปนจริง และคุมครอง
               ไมใหเกิดการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น จากเหตุผลดังกลาวจึงสงผลใหหลักสิทธิมนุษยชน

               เขาไปมีบทบาทในขอบเขตประโยชนสวนบุคคลหรือประโยชนในทางแพง ซึ่งแตเดิมเขาใจกันวาเปนเรื่องของเอกชน
               เทานั้น อีกทั้งในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน อาจมีการกระทําที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ระหวางกันอีกดวย

               ซึ่งจะเห็นไดวาประเด็นปญหาดังกลาวเปนปญหาที่เกี่ยวของกับความรูความเขาใจของประชาชนทั่วไปตออํานาจ
               หนาที่และการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเปนปญหาพื้นฐานที่มีความสําคัญ

               อยางยิ่งตอขอบเขตในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการสงเสริมและคุมครอง
               สิทธิมนุษยชนแกบุคคลทั่วไป ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

               และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542





                                                                                                               III
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13