Page 6 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 6

คํานํา








                      คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในฐานะองคกรตามรัฐธรรมนูญ มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบ
               และรายงานการกระทํา หรือการละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไมเปนไปตาม

               พันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการการแกไข

               ที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อดําเนินการ  ทั้งนี้

               ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257 วรรคหนึ่ง (1) และพระราชบัญญัติ

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 (2)
                      ที่ผานมา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติพบวา มีประเด็นปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในกรณีที่มีการรองเรียนขอใหตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น

               จากการกระทําของเอกชน ซึ่งหากพบวา มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น และบุคคลหรือองคกรที่เปนภาคเอกชน
               ไมดําเนินการตามมาตรการการแกไขปญหา  การที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะรายงานตอ

               นายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหบุคคลหรือองคกรภาคเอกชนนั้น ๆ ดําเนินการตามมาตรการดังกลาวก็ไมอาจมีผล

               ในทางปฏิบัติ เนื่องจากนายกรัฐมนตรีไมมีอํานาจตามกฎหมายที่จะสั่งการบุคคลหรือองคกรภาคเอกชน

               ใหดําเนินการตามมาตรการการแกไขปญหาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดโดยตรง นอกจากนี้

               การคุมครองสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน อาจมีผลขัดแยงกับหลักความเปนอิสระในการ
               แสดงเจตนาในกฎหมายเอกชน ซึ่งจะเห็นไดวาประเด็นปญหาดังกลาว เปนปญหาที่เกี่ยวของกับความรูความเขาใจ

               ของประชาชนทั่วไปตออํานาจหนาที่และการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเปน

               ปญหาพื้นฐานที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอขอบเขตในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               ในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนแกบุคคลทั่วไป ตามเจตนารมณของกฎหมายที่เกี่ยวของ

                      ดวยเหตุดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงไดดําเนินการศึกษาวิจัย เรื่อง

               “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวาง

               เอกชนดวยกัน”  โดยมีสถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนที่ปรึกษา ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค

               เพื่อศึกษาแนวคิดหลักการ มาตรฐานสากล บทบาทและอํานาจหนาที่ขององคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชน
               ทั้งในและตางประเทศ และศึกษา วิเคราะห กรณีที่เปนปญหาเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน อันจะนําไปสูการไดขอเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับ

               การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทําหรือการละเลยการกระทํา
               ในเรื่องดังกลาว ในมิติสิทธิมนุษยชนตามหลักกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชนไดอยางชัดเจน







                                                                                                               I
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11