Page 71 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 71

44  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



              พ.ศ. 2543 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง (10) มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 ในเรื่องการเลือก
              ปฏิบัติตอคนพิการ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวา ขอกําหนดดังกลาว เฉพาะในสวนบัญญัติที่วา “มีกายหรือจิตใจ

              ไมเหมาะสมที่จะเปนขาราชการตุลาการ...” ขัดหรือแยงกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรคสาม 92
                            2)  การเลือกปฏิบัติในขาราชการตํารวจ ปรากฏในระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวย

              เรื่อง รับสมัครและสอบแขงขันบุคคลภายนอกผูมีวุฒิปริญญาตรี เพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจ
              ชั้นประทวน ระบุวา ผูสมัครสอบตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะตองหามตามประกาศซึ่งไดระบุโรคตองหาม

              ไวหลายโรค หนึ่งในจํานวนหลายโรค คือ โรคเอดส (ขอ 11.8.5)
                            โดยในกรณีดังกลาว ศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส เคยทําหนังสือถึงประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน

              แหงชาติ เรื่อง ขอใหตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรณีสํานักงานตํารวจแหงชาติบังคับใหมีการตรวจเอดส
              ผูสมัครสอบเพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจชั้นประทวน เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2551 โดยอางจาก

              การประกาศจากกองบัญชาการศึกษาที่มีการระบุคุณสมบัติตองหามในผนวก ข. ทายประกาศ ลงวันที่ 23 มกราคม
              2551 วาผูที่มีสิทธิสอบจะตองไมเปนโรคติดเชื้อ หรือโรคที่เกิดจากปาราสิต โดยนอกจากโรคเรื้อน โรคเทาชาง

              ในระยะที่ปรากฏอาการเปนที่นารังเกียจของสังคม โรคคุดทะราดหรือรองพื้น (YAWS) โรคติดเชื้อเรื้อรังระยะ
              แสดงอาการรุนแรง ซึ่งไมสามารถรักษาใหหายขาดได และโรคเอดส 93

                            เมื่อคณะอนุกรรมการดานสงเสริมโอกาสและความเสมอภาค คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                                                                       94
              แหงชาติทําหนังสือถึงกองบัญชาการศึกษา สํานักงานตํารวจแหงชาติ  เพื่อขอทราบนโยบาย ระเบียบ กฎหมาย
              และมาตรการการดําเนินงานของกองบัญชาการการศึกษา สํานักงานตํารวจแหงชาติ ในสวนที่เกี่ยวของกับ
              การรับสมัครสอบบุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจ รวมทั้งความเห็นในกรณีดังกลาว ผูบังคับการ

              กองการสอบ กองบัญชาการศึกษา สํานักงานตํารวจแหงชาติไดทําหนังสือยืนยันวา มาตรการดังกลาวไมถือเปน
              การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรม  โดยอางตามมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ. 2547 และ
                                         95
              กฎ ก.ตร. วาดวยคุณสมบัติและลักษณะตองหามของการเปนขาราชการตํารวจ พ.ศ. 2547 และ กฎ ก.ตร. วาดวย
              คุณสมบัติลักษณะตองหามของการเปนขาราชการตํารวจ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ซึ่งเปนไปตามรัฐธรรมนูญ

              แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30 วรรคสุดทาย ที่กําหนดวา “มาตรการที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัด
              อุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่น ยอมไมถือเปนการเลือกปฏิบัติ

              โดยไมเปนธรรม ตามวรรค 3”
                            นอกจากนี้ ยังใหเหตุผลในการยืนยันตามมาตรการเดิมวา เนื่องมาจากภารกิจของขาราชการ

              ตํารวจเปนภารกิจที่แตกตางจากหนวยงานอื่น ๆ การรับบุคคลภายนอกที่เปนโรคเอดสเขามาปฏิบัติหนาที่
              อาจสงผลกระทบตอสังคมสวนรวม เพราะการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ รวมทั้งการฝกอบรม จะตอง

              เกี่ยวของกับประชาชนและเพื่อนรวมงาน เชน กรณีไปชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ หากผูที่ไปชวยเหลือมีเชื้อ
              เอชไอวี (บวก) อาจจะทําใหผูประสบอุบัติเหตุนั้นติดเชื้อได หรือในการฝกอบรมศิลปะการตอสูปองกันตัว




              92  คําวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ที่ 15/2555 เรื่องพิจารณาที่ 30/2553 วันที่ 13 มิถุนายน 2555 [online] available from http://www.constitutionalcourt.
               or.th/index.php?option=com_docman&task=cat_view&gid=495&Itemid=94&lang=th&limitstart=10
              93  หนังสือ ศคส. 022/2551 วันที่ 11 เมษายน 2551
              94  หนังสือ สม 0001.04/1802 วันที่ 2 ตุลาคม 2551
              95  หนังสือ ตช 0036.312/3162 วันที่ 21 ตุลาคม 2551
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76