Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 34

รายงานการศึกษาวิจัย  7
                                                             การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



               การเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ  ซึ่งใหความสําคัญกับการทําความเขาใจและตีความขอมูลอยางลุมลึกในมุมมองแบบ
               คนใน และเก็บขอมูลเชิงลึกจากผูใหขอมูลหลัก (Key Informant) ซึ่งเปนผูที่สามารถใหขอมูลไดอยางชัดเจน

               จึงทําใหสามารถไดผลการศึกษาที่หนักแนน และเชื่อถือได ซึ่งแตกตางจากการศึกษาเชิงปริมาณที่เนนการสราง
               ขอสรุปทั่วไป (generalization) จึงตองใหความสําคัญกับจํานวนตัวอยางที่สามารถเปนตัวแทนประชากรได

               แตการเก็บขอมูลเชิงปริมาณจะไมสามารถแสดงใหเห็นปญหาเฉพาะบางประการ โดยเฉพาะการเลือกปฏิบัติ
               ไดชัดเจน

                      โดยกําหนดใหมีการเก็บขอมูลจากผูมีสวนไดสวนเสียใน 6 กลุม โดยวิธีการ ดังนี้


                                กลุม                                    ว  ิธีการ                   จํานวน
                ผูติดเชื้อ                            การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัดสนทนากลุมแบบ 10 - 12 คน

                - กลุมที่มีงาน                        ปรึกษาหารือ (deliberative focus group) ครอบคลุม
                - กลุมที่เคยถูกปฏิเสธ/เลิกจาง        พื้นที่เมือง-ชนบท และประเภทกิจการ

                กลุมผูใกลชิดผูติดเชื้อ                                                         15 - 20 คน
                กลุมนายจาง/เจาของสถานประกอบการ      การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัดสนทนากลุมแบบ 8 - 10 คน

                                                       ปรึกษาหารือ ครอบคลุมกิจการของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ/
                                                       เอกชน โดยเฉพาะกิจการอาหารและกิจการตอเนื่อง
                                                       กิจการบริการ รวมกับการศึกษากรณีศึกษา
                กลุมลูกจางในสถานประกอบการและตัวแทน การจัดสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ                8 - 10 คน

                สหภาพแรงงาน
                กลุมเจาหนาที่รัฐ/เอกชน/องคกรพัฒนาเอกชน  การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัดสนทนากลุมแบบ 8 - 10 คน

                ที่ทํางานเกี่ยวของกับผูติดเชื้อ      ปรึกษาหารือ
                  กลุมผูเชี่ยวชาญดานเชื้อเอชไอวี    สัมภาษณเชิงลึก                             1 - 2 คน


                      สําหรับเกณฑพิจารณาคัดเลือกชุมชน/กรณีศึกษา จะมีความครอบคลุมทั้งความหลากหลายเชิงพื้นที่ พื้นที่
               เมือง-ชนบท และประเภทกิจการ โดยเฉพาะกิจการที่มีความเปราะบางตอการเลือกปฏิบัติเปนพิเศษ เชน กิจการ

               บริการ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจอาหารและกิจการตอเนื่อง เปนตน 7
                      การเก็บขอมูลในทุกกรณีใชการสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัดสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ

               (Deliberative Focus Group) ยกเวน กรณีกลุมผูเชี่ยวชาญดานเชื้อเอชไอวีเทานั้น ที่ใชการสัมภาษณ
                      สําหรับการสัมภาษณเชิงลึก (in-depth interview) เปนเครื่องมือที่เหมาะสําหรับการเก็บขอมูลกับ

               ผูใหขอมูลหลักในแตละกลุม หรือกรณีศึกษาที่แตกตางไปจากกรณีทั่วไป ในขณะที่การสนทนากลุม (Focus Group)
               จะเปนเครื่องมือที่ตองการเก็บขอมูลที่เปนความเห็นของกลุมมากกวา

                      อยางไรก็ดี การสนทนากลุมในการวิจัยครั้งนี้ไมใชการสนทนากลุมโดยทั่วไป แตเปนวิธีการที่พัฒนามาจาก
               การสํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Polling) ซึ่งเปนวิธีการที่ James Fishkin ออกแบบโดย

               ใหความสําคัญกับกระบวนการอภิปรายที่ผูเขารวมมีขอมูลมากเพียงพอ และสามารถชั่งนํ้าหนักของขอเสนอตาง ๆ



               7   เกณฑการพิจารณาความหลากหลายของพื้นที่/กรณีศึกษา ไดรับการปรับปรุงเพิ่มเติมจากการประชุมเชิงปฏิบัติการผูมีสวนไดสวนเสีย ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 17
                 ตุลาคม 2555 รายละเอียดในภาคผนวก 1
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39